Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,593
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,797
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,170
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,093
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,537
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,593
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,563
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,939
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,107
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,406
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,329
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,529
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,009
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,759
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,821
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,621
17 Industrial Provision co., ltd 40,707
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,338
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,298
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,620
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,524
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,846
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,279
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,093
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,528
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,535
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,905
28 AVERA CO., LTD. 23,630
29 เลิศบุศย์ 22,617
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,399
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,253
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,964
33 แมชชีนเทค 20,889
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,118
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,086
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,883
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,518
38 SAMWHA THAILAND 19,411
39 วอยก้า จำกัด 19,147
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,601
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,421
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,315
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,304
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,276
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,156
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,130
47 Systems integrator 17,708
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,670
49 Advanced Technology Equipment 17,506
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,461
17/01/2553 14:46 น. , อ่าน 8,046 ครั้ง
Bookmark and Share
การชำรุดของอุปกรณ์ในวงจรคาปาซิเตอร์
โดย : Admin

  การชำรุดของอุปกรณ์ในวงจรคาปาซิเตอร์
เนื่องจากปรากฏการณ์ HUNTING

           
                      
การชำรุดของอุปกรณ์ในวงจรคาปาซิเตอร์ เนื่องจากปรากฏการณ์ " HUNTING" จากประสบการณ์
                    ที่โรงงานแห่งหนึ่งที่ติดตั้งคาปาซิเตอร์จำนวนหลายชุด    โดยมีเครื่องควบคุมการตัดต่อคาปาซิเตอร์ 
                    แบบอัติโนมัติทั่วไปเหมือนโรงงานอื่นๆ

                    - ปัญหาที่เกิดขึ้น คือทางโรงงานแจ้งว่า VCB (Vacuum Circuit Breaker ) ที่เป็นตัวตัดต่อวงจรคาปาซิเตอร์
                      มีการระเบิดเสียหายโดยไม่ทราบสาเหตุจำนวนหนึ่งชุด โดยสงสัยว่าปัญหาที่เกิดขึ้นมาจากฮาร์มอนิกหรือไม่

                    - จากการตรวจสอบ VCB ตัวที่มีปัญหาพบว่ามีรอยอาร์คระหว่างเฟส จากการวัดระยะอาร์คระหว่างเฟสที่เกิดขึ้น
                      ประกอบกับการพูดคุยกับทางโรงงานพอสันนิษฐานได้ว่ามีแรงดันสูงเกิดขึ้นในระหว่างเฟสและเกิด Flash Over
                      จนทำให้เกิดการเสียหายขึ้น

                    - สิ่งที่ตรวจสอบพบเมื่อทำการวัดฮาร์มอนิก พบว่าทั้งกระแสและแรงดันฮาร์มอนิก อยู่ในระดับต่ำอยู่ในระดับต่ำ
                      ไม่มีนัยสำคัญอะไร จึงได้พุ่งความสนใจไปที่อุปกรณ์ต่างๆ และชุดควบคุมคาปาซิเตอร์ จึงพบว่ามีการตั้งค่า c/k
                      (ค่า c/k มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า " Starting Current" )ให้ชุดควบคุมไม่ถูกต้อง ประกอบกับผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ใน
                      เหตุการณ ์เล่าว่าได้ยินเสียงการทำงานของ VCB ทำการตัดต่อคาปาซิเตอร์อยู่หลายครั้งก่อนที่ VCB จะระเบิด
                      เสียหาย

                    - ข้อสรุป คือเมื่อพบว่ามีการตั้งค่า c/k ไม่ถูกต้อง ประกอบกับการทำงานบ่อยครั้งของ VCB ที่เกิดขึ้นทำให้สันนิษฐาน
                      ได้ว่าเกิดปรากฏการณ์ Hunting โดยตั้งค่า  c/k  ต่ำเกินไป  ชุดควบคุมวงจรคาปาซิเตอร ์หรือ  เครื่องควบคุมค่า
                      เพาเวอร์แฟคเตอร์ ต้องการค่า c/k เพื่อใช้ในการคำนวณและตัดต่อวงจรคาปาซิเตอร์ ให้เหมาะสมกับสภาวะของ
                      โหลดที่จะทำให้ค่าเพาเวอร์ของระบบไฟฟ้าอยู่ในระดับที่ต้องการ ค่า c/k นี้สามารถคำนวณได้จากสูตร


                      
                      
                      ถ้า c/k ต่ำเกินไปจะทำให้การตัดต่อคาปาซิเตอร์เข้าออกอยู่ตลอดเวลาทั้งที่โหลดไม่มีการเปลี่ยนแปลงหรือที่เรียก
                     ว่าเกิด Hunting การตัดต่อคาปาซิเตอร์เข้าออกบ่อยๆ ในเวลาสั้นๆ จะทำให้แรงดันที่ค้างอยู่ในคาปาซิเตอร์ลดลงไม่
                     ทัน (ยังดีสชาร์จไม่หมด) จนในที่สุดเกิดแรงดันสะสมสูงเพิ่มขึ้นจนกระทั่งเกิดอันตรายกับ VCB ดังกล่าว
                         
                            วิธีแก้ไขคือ การป้องกันไม่ให้เกิด Hunting โดยการตั้งค่า c/k ได้เองโดยตรวจสอบระบบแบบอัตโนมัติจึงไม่
                     เกิดปัญหา ในกรณีที่ต้องการตั้งค่า c/k ได้เองจากสูตรที่กล่าวมาแล้ว   โดยสามารถตวรจสอบจากตารางตั้งค่า c/k
                     ในคู่มือชุดควบคุมคาปาซิเตอร์ซึ่งจะมีรายละเอียดค่า c/k อยู่อย่างครบถ้วน    การตั้งค่า c/k ให้ถูกต้องจะสามารถ
                     แก้ไขปัญหาปรากฏการณ์ Hunting ที่เกิดขึ้นได้

       ตารางแสดงค่าc/k

CT Ratio
k
Capacitor Step Rating (kvar)
 
 
 
5
10
15
20
30
40
50
60
70
90
100
120
10/1
50/5
10
.45
.90
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
20/1
100/5
20
.23
.45
.68
.90
 
 
 
 
 
 
 
 
30/1
150/5
30
.15
.30
.45
.60
.90
 
 
 
 
 
 
 
40/1
200/5
40
.11
.23
.34
.45
.68
.90
 
 
 
 
 
 
60/1
300/5
60
.07
.15
.23
.30
.45
.60
.79
.90
 
 
 
 
80/1
400/5
80
.056
.11
.17
.23
.36
.45
.56
.68
.79
.90
 
 
100/1
500/5
100
0.45
.09
.14
.18
.30
..36
.45
.54
.63
.81
.90
 
120/1
600/5
120
.037
.07
.11
.15
.23
.30
.38
.45
.53
.68
.75
.90
160/1
800/5
160
.028
.056
.08
.11
.17
.23
.28
.34
.40
.50
.56
.68
200/1
1000/5
200
.022
.045
.067
.09
.13
.18
.23
.27
.31
.40
.45
.54
300/1
1500/5
300
.055
.030
.045
.060
.09
.12
.15
.18
.21
.27
.30
.36
400/1
2000/5
400
 
.022
.034
0.45
.067
.09
.11
.14
.16

 

เอกสารอ้างอิง
               วารสาร คุณภาพไฟฟ้า Vol 8/ Oct- Dec 2001 ; ABB LIMITED

             (ขอขอบคุณ ชาวสมาชิก 9engineer  คุณมาโนชน์ ที่กรุณาส่งข้อมูลมาเพื่อเป็นความรู้เผยแพร่)

 

 

========================================================

 

 

 

25 June 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD