Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,292
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,564
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,877
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,851
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,305
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,366
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,337
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,713
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,746
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,195
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,104
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,322
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,774
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,532
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,540
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,408
17 Industrial Provision co., ltd 40,478
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,129
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,064
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,391
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,298
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,646
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,074
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,863
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,294
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,316
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,687
28 AVERA CO., LTD. 23,425
29 เลิศบุศย์ 22,389
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,144
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,047
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,716
33 แมชชีนเทค 20,658
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,885
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,875
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,661
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,299
38 SAMWHA THAILAND 19,156
39 วอยก้า จำกัด 18,888
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,369
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,185
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,103
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,054
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,041
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,946
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,937
47 Systems integrator 17,490
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,465
49 Advanced Technology Equipment 17,271
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,254
10/10/2552 07:47 น. , อ่าน 8,355 ครั้ง
Bookmark and Share
Industrail bus system
โดย : Admin

เรียบเรียงโดย:    สุวัฒน์   ธเนศมณีกุล  

 

 

      เนื่องจากมีการขยายตัวของงานออโตเมชั่นมากในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ทำให้เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลทางด้านอุตสาหกรรม (Industrial communication)มีความสำคัญมากขึ้น  โดยจุดประสงค์เพื่อจัดการการสื่อสารข้อมูลที่มากและซับซ้อนของแต่ละลำดับชั้น ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งจากแนวโน้มการพัฒนาเทคโนโลยีที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น คือ ได้มีการนำเทคโนโลยีระบบบัส (Bus system) มาใช้เพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ที่ต้องการ
 

       โดยทั่วไประบบบัสสำหรับงานอุตสากรรม (Industrial bus system) มีมากมายหลายชนิด ซึ่งในที่นี้จะขอจำแนกตามลำดับขั้นการติดต่อสื่อสารข้อมูลเป็น 3 ระดับ ดังนี้

  1. ระดับ factory level ซึ่งจะครอบคลุมระดับออโตเมชันระดับ Factory manage และ Coordinating
  2. ระดับ Cell level ซึ่งจะครอบคลุมระดับออโตเมชันระดับ System และ Control
  3. ระดับ Field level ซึ่งจะครอบคลุมระดับออโตเมชัน ระดับ Sensor actuator

           ซึ่งเราสามารถสรุปเป็นตารางได้ดังนี้

ลำดับชั้นของ INDUSTRIAL COMMUNICATION

ชนิดของ INDUSTRIAL BUSในท้องตลาด

Factory level

EtherNet TCP/IP

Control level

ARCNET, ControlNet, INTERBUS, PROFIBUS-FMS

Field level

Process Bus Network ( Analog )

(Up to 1000 Bytes)

FOUNDATION field bus, HART,INTERBUS, LON, PROFIBUS-FMS, PROFIBUS-PA

Device Bus Network

( Discrete )

Byte-wide data

(8-256 Bytes)

BITBUS, CAN, CANopen, DeviceNet ,FOUNDATION field bus, INTERBUS-S, PROFIBUS-DP, Smart Distributed System(SDS), Modbus RTU/ASII

Bit-wide data

(น้อยกว่า 8 bits)

AS Interface, INTERBUS LOOP, Seriplex



ลำดับการควบคุมระบบออโตเมชั่นในงานต่างๆ

  Factory level

          EtherNet TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่คนส่วนใหญ่จะคุ้นเคยดีในเรื่องของ Internet อุปกรณ์ทั้งซอฟแวร์ และฮาร์ดแวร์ก็เป็นสิ่งที่ทุกคนคุ้นเคยอยู่แล้วเพราะว่าใช้กันทั่วไปในสำนักงาน โดยทั่วไปแล้วเราจะใช้เทคโนโลยีอันนี้เพื่อเป็นการควบคุมระดับสูงสุดในโรงงาน    
         ประวัติของ TCP/IP นั้นมีกำเนิดมาจากระบบเครือข่าย ชื่อ ARPANET ในปี 1970 ซึ่งได้รับการสนับสนุนการวิจัยจากกระทรวงกลาโหมประเทศสหรัฐอเมริกา ต่อมาได้มีการพัฒนาจนเป็นมาตราฐานในการรับ-ส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1983 ซึ่งปรากฏจำนวนระบบเครือข่าย และผู้ใช้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจนเป็นที่รู้จัก ซึ่งถูกเรียกว่าเป็นระบบอินเตอร์เน็ต (Internet)

 

   Control level

      ARCNET (Attached Resource Computer Network)
           ARCNET ถูกพัฒนาตั้งแต่ปี 1977 โดยบริษัท SMC ประเทศสหรัฐอเมริกา
           Control Net ถูกพัฒนาโดยบริษัท Allen-Bradley ในปี 1995 เพื่อใช้ในงานควบคุมระดับ Control level 
      PROFIBUS-FMS  (Profibus Fieldbus Message Specification) ถูกพัฒนาโดยบริษัท Siemens ประเทศเยอรมนี ในปี 1987 ในชื่อของ PROFIBUS (Process Fieldbus) และนำออกสู่ตลาดในปี 1992
 

  • Field level ในงาน Process automation

              FOUNDATION field bus ได้ถูกพัฒนาบนพื้นฐานของมาตรฐาน IEC โดยได้รับการร่วมมือกันของ Noen World FIP และ ISP Foundation โดยจุดประสงค์เพื่อสร้างมาตรฐานฟิลด์บัสเพื่อให้สามารถใช้งานได้กับทุกยี่ห้อ

             HART (Highway Addressable Remote Transducer) ถูกพัฒนาขึ้นในปี 1984 เป็นโปรโตคอลสำหรับอุปกรณ์ระดับฟิลด์ที่ใช้มาตรฐาน 4-20 mA

              LON (Local Operating Network) เป็นระบบเน็ตเวิร์ดสำหรับงานออโตเมชันโดยใช้พื้นฐานของชิพ “neuron” ซึ่งถูกแนะนำออกสู่ตลาดในปี 1990 โดยบริษัท Echelon ของประเทศสหรัฐอเมริกา

             PROFIBUS-PA (Profibus Process Automation) เป็น PROFIBUS ที่ใช้สำหรับงานควบคุมกระบวนการผลิต (Process control) โดยเฉพาะซึ่งจำเป็นต้องมีความปลอดภัยสูงมาก

             World FIP (World Factory Instumentation Protocol) เป็นมาตรฐานเปิด (Open system) ตามมาตรฐาน UTE 46 ซึ่งถูกเสนอให้เป็นมาตรฐานตาม IEC และ ISA สมาคมผู้ใช้เทคโนโลยี FIP ถูกตั้งขึ้นในปี 1993 โดยแกนนำหลัก ๆ คือ บริษัท tloneywell และ Bailey จากนั้นอีก 2 ปี (ต.ค. 1994) ได้รวมตัวกับสมาคมผู้ใช้เทคโนโลยี ISP (Interoperable System Project) โดยมีแกนนำหลัก ๆ คือ บริษัท Fisher – Rosemount, Siemens และ Yokogawa) รวมกันเป็นสมาคมฟิลด์บัส (Fieldbus Foundation)

 

  • Field level ในงาน Factory automation

            Byte data
               BITBUS ถูกพัฒนาโดยบริษัท INTEL และถูกใช้งานตั้งแต่ปี 1984 เป็นไปตามมาตรฐาน IEEE 1118
               CAN ( Controller Area Network) เริ่มต้นในปี 1980 โดยบริษัท Bosch เพื่อลดปริมาณสายไฟในรถเมอร์ซีดิส-เบนซ์ จากนั้นโปรโตคอลนี้ได้ถูกพัฒนาเพื่อการใช้งานที่มากขึ้
               CAN open อยู่ในตระกูล CAN ถูกพัฒนาโดยองค์การ CiA (CAN in Automation) ในปี 1993 เพื่อพัฒนาให้โปรโตคอล CAN มีความสามารถมากขึ้น จุดเด่นของ CAN open อยู่ต่างกับระบบ Fielbbus อื่น ๆ ก็คือ แต่ละโหนด (node) สามารถติดต่อกับโหนดโดยตรงได้โดยไม่จำเป็นต้องติดต่อผ่านตัวแม่ Master เป็นการลดจำนวนการติดต่อสื่อสารได้มาก
               Device Net เป็นมาตราฐานที่ถูกพัฒนามาจาก CAN โดยบริษัท Allen-Bradley ในปี 1994
               INTERBUS-S ถูกพัฒนาโดยบริษัท Phoenix Contact ในปี 1984 เป็นระบบ Field bus ทีได้รับความนิยมเนื่องจากความเร็ว การวิเคราะห์ จุดบกพร่อง การกำหนด address โดยอัตโนมัติ
               PROFIBUS-DP (Profibus Distributed Periperal) เป็น PROFIBUS ที่ใช้สำหรับงานควบคุมเครื่องจักร (Factory automation) จากข้อมูลการตลาด PROFIBUS ถือได้ว่าเป็นผู้นำทางด้าน Field bus เลยก็ว่าได้เพราะมีคนนิยมใช้มากกว่าครั้งหนึ่งของตลาด field bus
                SDS (Smart Distributed System) ถูกพัฒนาโดยบริษัท Honeywell ซึ่งมีพื้นฐานมาจาก CAN

               Bit data
                As interface  
                INTERBUS LOOP เป็น INTERBUS ที่ใช้งานระดับ Actuator sensor เพื่อติดต่อสื่อสารข้อมูลไม่กี่บิต
                Seriplex เป็นระบบบัสที่ใช้ควบคุมอุปกรณ์ระดับ Actuator sensor ถูกพัฒนาโดยบริษัท APC (Automated Process Control)






 

========================================================

 

 

 

20 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD