Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,655
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,840
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,230
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,138
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,567
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,652
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,600
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,980
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,206
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,436
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,368
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,561
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,060
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,801
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,864
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,651
17 Industrial Provision co., ltd 40,751
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,373
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,347
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,660
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,561
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,882
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,313
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,140
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,560
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,572
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,941
28 AVERA CO., LTD. 23,663
29 เลิศบุศย์ 22,652
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,429
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,317
32 Electronics Source Co.,Ltd. 21,004
33 แมชชีนเทค 20,928
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,175
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,118
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,920
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,550
38 SAMWHA THAILAND 19,451
39 วอยก้า จำกัด 19,197
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,644
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,460
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,360
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,349
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,313
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,188
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,165
47 Systems integrator 17,742
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,705
49 Advanced Technology Equipment 17,544
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,498
06/10/2552 10:54 น. , อ่าน 21,168 ครั้ง
Bookmark and Share
กฎเบื้องต้นของระบบนิวแมติก
โดย : Admin

 

 โดย:  สิริวัฒน์     ไวยนิตย์

 

          ในระบบนิวแมติก ที่จะกล่าวถึงนี้จะมีความสัมพันธ์กันอยู่ระหว่าง แรง อุณหภูมิ ความดัน และปริมาตร ซึ่งเป็นความรู้พื้นฐานในการเรียนรู้วิชานิวแมติก 
 

      ความดัน  ความดันบรรยากาศในแต่ละแห่งของพื้นผิวโลก มีค่าแตกต่างกันตามสภาพของระดับความสูง และสภาพภูมิอากาศ แต่ปกติทั่วไปถือว่า ความดันที่ระดับน้ำทะเลเป็นความดันบรรยากาศ การหาค่าความดันบรรยากาศเราสามารถหาได้จากเครื่องมือหลายชนิด เช่น การวัดความดัน บาโรมิเตอร์ หรือมานอมิเตอร์      

 

 

 

 

      เนื่องจากความสูงของระดับพื้นโลกในแต่ละแห่งมีค่าไม่เท่ากัน หากวัดความดันจาก 0 at ไปจนถึงระดับความดันอากาศ เรียกว่าความดันสุญญากาศ (Vacuum) และถ้าเหนือความดันบรรยากาศขึ้นไป เรียกว่า ความดันเกจ (gauge pressure)  ดังรูปเราสามารถหาค่าความดันสมบูรณ์ได้จากสมการต่อไปนี้
 

 

 

กรณีที่ความดันที่อ่านจากเกจวัดความดันเป็นค่าบวก
ความดันสมบูรณ์  
=   ความดันบรรยากาศ + ความดันเกจ


กรณีที่ความดันที่อ่านจากเกจวัดความดันเป็นค่าลบ
ความดันสัมบูรณ์  
=   ความดันบรรยากาศ - ความดันเกจ

 

 

               อุณหภูมิ  เป็นคุณสมบัติที่แสดงถึงความร้อนของสารตัวกลางที่สภาวะต่าง ๆ หน่วยของอุณหภูมิที่ใช้กันทั่วไปคือ ในระบบ SI อุณหภูมิสัมบูรณ์มีหน่วยเป็นองศาเคลวิน (Kelvin ; K)

                          0 ํ c     =   273 K (Kelvin)
                          1 ํ c     =   274 K (at 1 ํ c = 1K)

     แรง  จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่ 2 ของนิวตันจะได้ความสัมพันธ์ดังนี้

                         F     =   m  . a
                                =   Kg .          =  N (Newton)

       ในการคำนวณทางเทคนิคใช้ค่าประมาณ    1 Kp = 10 N




 

ความชื้น  คือ จำนวนปริมาณของน้ำที่มีปะปนในอากาศ จะสามารถรวมตัว และกลั่นตัวเป็นหยดน้ำได้ ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ และสภาวะของอากาศในขณะนั้น ๆ ค่าความชื้นจะเพิ่มขึ้น เมื่ออุณหภูมิต่ำลง และค่าความชื้นจะลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น ค่าความชื้นสัมพัทธ์มีหน่วยเป็นเปอร์เซนต์สามารถหาได้จากสมการต่อไปนี้


                           ค่าความสัมพันธ์ = ค่าความชื้นที่วัดได้ / ค่าความชื้นสัมบูรณ์
 


  โดยที่ค่าความชื้นที่วัดได้คือการกลายเป็นไอของน้ำในปริมาตร  และอุณภูมิขณะนั้นมีหน่วยเป็นกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
  ค่าความชื้นสัมบูรณ์ คือจำนวนสูงสุดของการกลายเป็นไอน้ำที่อากาศสามารถรับไว้ได้จนถึงจุดอิ่มตัว  มีหน่วยเป็นกรัมต่อลูกบาศก์เมตร


 

 

 

 

 
      ตัวอย่าง 1        จงหาปริมาตรไอน้ำที่ 32 ํC ที่ความชื้นสัมพัทธ์ 100 %
                   วิธีทำ
 จากตาราง จะพบว่าที่อุณหภูมิ 32 ํC ปริมาตรไอน้ำที่เกิดขึ้นจะมีค่า 33.8 g/m3
    ตัวอย่าง 2    ถ้าคอมเพลสเซอร์ดูดอากาศเข้ามา 7 ลูกบาศก์เมตร อัดเข้าถังเก็บปริมาตร 1 ลูกบาศก์เมตร ความดัน 6 บาร์ อุณหภูมิ 30 ํC  ความชื้นสัมพัทธ์ 100 % เมื่อลมอัดเย็นตัวลงเหลือ 20 ํC 

     วิธีทำ   เมื่อความชื้นสัมพัทธ์ = 100% (จำนวนไอน้ำที่มีอยู่ในอากาศจริง =  จำนวนไอน้ำที่อากาศสามารถรับไว้ได้จนถึงจุดอิ่มตัว
จะมี ปริมาณไอน้ำเหลือในลมอัดเท่าไร และกลั่นตัวเป็นหยดน้ำเท่าไร

\ ความชื้นสัมบูรณ์   =   ปริมาณความอิ่มตัวของไอน้ำ
อากาศ 1 m3 ที่อุณหภูมิ 30 ํC จะมีไอน้ำปะปนอยู่จนอิ่มตัว  =      30   กรัม
อากาศ 7 m
3 ที่อุณหภูมิ 30 ํC จะมีไอน้ำปะปนอยู่จนอิ่มตัว   =     30 x 7 = 210               กรัม
 ลมอัดที่ความดัน 6 บาร์ เย็นตัวลดเหลือ 20 ํC
ลมอัด 1 m2  ที่อุณหภูมิ 20 ํC จะมีไอน้ำปะปนอยู่    =  17   กรัม
นั่นคือ จะมีปริมาณไอน้ำในลมอัด                         =   17   กรัม
และไอน้ำในอากาศจะกลั่นตัวเป็นหยดน้ำในถังลม   =    210 – 17  = 193  
กรัม
                     

 

 

ขอขอบคุณทุกๆที่มาของแหล่งข้อมูล
 

 

========================================================

 

 

 

11 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD