Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,646
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,834
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,225
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,133
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,565
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,646
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,598
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,977
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,189
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,434
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,361
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,557
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,053
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,799
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,858
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,648
17 Industrial Provision co., ltd 40,745
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,369
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,343
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,656
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,556
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,878
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,308
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,133
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,559
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,568
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,937
28 AVERA CO., LTD. 23,661
29 เลิศบุศย์ 22,647
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,426
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,312
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,999
33 แมชชีนเทค 20,924
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,171
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,113
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,916
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,548
38 SAMWHA THAILAND 19,447
39 วอยก้า จำกัด 19,193
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,641
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,456
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,358
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,341
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,310
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,185
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,161
47 Systems integrator 17,737
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,703
49 Advanced Technology Equipment 17,540
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,494
10/09/2563 07:56 น. , อ่าน 7,556 ครั้ง
Bookmark and Share
แหล่งจ่ายกำลังไฟ(Power Supplies)
โดย : Admin

แหล่งจ่ายกำลังไฟ (Power Supplies) คืออะไร ?

 

ตัวอย่างเพาเวอร์ ซัพพลาย

 

เพาเวอร์ซัพพลายหรือแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าจะมีหลายชนิดด้วยกัน  ซึ่งส่วนใหญ่มักจะออกแบบมาเพื่อแปลงไฟบ้านหรือไฟฟ้าโรงงานที่มีแรงดันสูง เช่น  220 Vac (เอ.ซี. 220โวลท์) ให้ได้แรงดันต่ำที่เหมาะสมใช้กับวงจรอิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์อื่นๆ เช่น 24 Vdc   12 Vdc   หรือ 5 Vdc เป็นต้น

ภาพรวมของแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าสามารถเขียนเป็นบล็อกไดอนุกรมดังรูปดังต่อไปนี้


 

จากรูป - แต่ละบล็อกมีนิยามดังนี้:

    -  Transformer หรือ หม้อแปลงไฟฟ้า :  โดยทั่วไปจะทำหน้าที่แปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) จากแรงดันไฟบ้านหรือไฟฟ้าโรงงานให้ลดลงเหลือในระดับที่เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน หรือ วงจรคอนโทรล

   -  Rectifier หรือวงจรเรียงกระแส : ทำหน้าที่แปลงไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) ให้เป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC)

   -  Smoothing หรือ วงจรรองแรงดัน : ตัวกรองแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง(DC) ซึ่งเป็นวงจรที่ช่วยทำให้แรงดันไฟฟ้ากระแสตรงเรียบขึ้น ลดริปเปิล(ripple)หรือการกระเพื่อมของสัญญาณให้เหลือน้อยๆ

    - Regulator เรกกูเลเตอร์ หรือ วงจรคุมค่า : วงจรที่ทำหน้าที่ควบคุมหรือปรับแรงดันให้คงที่ ควบคุมให้ริปเปิลหมดไปและกำหนดค่าแรงดัน DC ด้านขาออกให้คงที่
 

ตัวอย่างบล๊อคไดอะแกรมของแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้าแบบ 5Vdc

 

 

โครงสร้างและการทำงานของอุปกรณ์ในแต่ละส่วน

  -  Transformer หม้อแปลงไฟฟ้า : จะทำหน้าที่แปลงระดับแรงดันของไฟฟ้ากระแสสลับ(AC) จากแรงดันไฟบ้านหรือไฟฟ้าโรงงานให้ลดลงเหลือในระดับที่เหมาะสมกับอุปกรณ์ที่จะใช้งาน เช่นแปลงจาก 220 Vac ลดลงเหลือ 120 Vac หรือ 24 Vac เป็นต้น


แรงดันทั้งทางด้านอินพุทและเอาท์พุทยังคงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ (AC)



    -  Rectifier หรือวงจรเรียงกระแส:  วงจรนี้จะต่อหลังจากหม้อแปลงไฟฟ้า จะทำให้ที่แปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง (DC)


การทำงานของวงจรเรียงกระแส Rectifier



แรงดันเอาท์พุทที่ได้จากวงจรเรียงกระแส ในขั้นตอนนี้จะเป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง(DC) ที่ยังไม่เรียบ
ซึ่งสามารถใช้งานได้กับงานบางประเภทเท่านั้นเช่น เป็นไฟเลี้ยงหลอด ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง (DC motor เล็กๆ)
แต่ยังไม่เหมาะที่จะป้อนให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ หรือทำหน้าที่เป็นแหล่งจ่ายกำลังไฟฟ้า

 




  วงจรกรอง :   ฟิลเตอร์หรือวงจรกรองหรือ Smoothing จะใช้แคปปาซิเตอร์ต่อขนานอยู่กับส่วนของเอาท์พุทของวงจรเรียงกระแส ซึ่งจะทำหน้าที่กรองแรงดันไฟฟ้าหลังจากวงจรเร็คติไฟร์หรือวงจรเรียงกระแสให้เรียบขึ้น โดยแคปปาซิเตอร์จะทำการชาร์จและดิสชาร์จหรือคายประจุดังรูป


หลังจากผ่านขั้นตอนนี้ แรงดันเอาท์พุทซึ่งเป็นไฟฟ้ากระแสตรง(DC) จะมีความเรียบขึ้นและมีริปเปิลน้อยลดน้อยลง
ซึ่งก็สามารถใช้สำหรับจ่ายให้กับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ส่วนใหญ่



     Regulator เรกกูเลเตอร์ : วงจรคุมแรงดัน

 

 

เอาท์พุทไฟฟ้ากระแสตรง(DC) หลังออกจากวงจรเรกกูเลเตอร์  จะค่อนข้างเรียบมากไม่มีริปเปิล
ซึ่งเหมาะสำหรับเป็นแหล่งจ่ายให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด

 

 

========================================================

 

 

 

9 July 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD