Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,593
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,797
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 174,170
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 174,093
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,537
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,593
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,563
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,939
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 162,107
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,406
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,330
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,530
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 69,009
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,759
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,822
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,621
17 Industrial Provision co., ltd 40,707
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,338
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,298
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,620
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,524
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,846
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,279
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 32,094
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,528
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,535
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,905
28 AVERA CO., LTD. 23,630
29 เลิศบุศย์ 22,617
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,400
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,253
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,964
33 แมชชีนเทค 20,889
34 มากิโน (ประเทศไทย) 20,118
35 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 20,086
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,883
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,518
38 SAMWHA THAILAND 19,411
39 วอยก้า จำกัด 19,147
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,601
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,421
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,315
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,305
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,276
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,156
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 18,130
47 Systems integrator 17,708
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,670
49 Advanced Technology Equipment 17,506
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,461
26/04/2563 06:59 น. , อ่าน 5,801 ครั้ง
Bookmark and Share
Tesla coil
โดย : Admin

Tesla coil เทสล่าคอยล์คืออะไร

 

 

ขดลวดเทสลา (Tesla coil) เป็นหม้อแปลงที่อาศัยหลักการเรโซแนนซ์ในวงจรไฟฟ้า โดยมีแกนเป็นอากาศ สามารถสร้างแรงดันไฟฟ้าระดับสูงได้อย่างน่าตกใจ ซึ่งเป็นหนทางนำส่งคลื่นวิทยุและโทรทัศน์ในเวลาต่อมา นอกจากนั้น การค้นพบที่น่าสนใจที่สุดในเทสลาคอยส์ก็คือ สามารถส่งพลังไฟฟ้าผ่านอากาศที่เบาบางได้
 

เทสลาคอยส์ถูกสร้างขึ้นโดย นิโคลา เทสลา ซึ่งเป็นนักฟิสิกส์วิทยาศาสตร์ชาวโครเอเชีย เขาเคยได้ลองสร้างเทสลาคอยส์ ขนาดยักษ์เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงมาก จนสามารถส่งกระแสไฟ 10,000 วัตต์ ผ่านอากาศและสามารถจุดหลอดไฟฟ้าที่อยู่ห่างออกไป 40 กิโลเมตรได้มากกว่า 200 ดวง โดยในปัจจุบันภาพยนตร์หลายเรื่องนิยมนำเทสลาคอยส์มาใช้ เมื่อต้องการฉากฟ้าผ่าฟ้าแลบ หรือการสปาร์กของกระแสไฟฟ้า ยกตัวอย่างเช่นหนังเรื่อง ฅนเหล็ก 2029 ภาค 2 (terminator II) ศึกอภินิหารพ่อมดถล่มโลก (the sorcerer’s Apprentice) เป็นต้น นอกจากในวงการภาพยนตร์แล้วในวงการดนตรีเองก็นิยมนำเสียงที่เกินจากแรงดันกระแสไฟฟ้ามาใช้ เพื่อเป็นเสียงประกอบที่สร้างความแปลกใหม่ไปในตัวอีกด้วย




ชมคลิก ชุดสาธิตการทำงานของเทสล่า คอยส์

 

หลักการทำงาน

เทสลาคอยส์ ถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า หม้อแปลงแบบเรโซแนท์ มีความหมายทางฟิสิกส์ว่าหม้อแปลงนี้ทำงานที่ความถี่หนึ่งที่เกิดการ หลักการเรโซแนนท์เท่านั้น ไม่ใช่ทุกๆความถี่

คอยส์หรือขดลวดที่ทำให้เกิดประกายไฟฟ้าเป็นขดลวดตัวที่สอง สร้างขึ้นจากตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ และตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำก็คือขดลวด เพราะขดลวดก็คือตัวเหนี่ยวนำในตัวอยู่แล้ว ค่าของความเหนี่ยวนำจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับ จำนวนรอบ เส้นผ่าศูนย์กลาง และความยาวของขดลวด ทั้งตัวเหนี่ยวนำ ความจุไฟฟ้า และความต้านทาน ต้องมีค่าพอดี จึงจะทำให้เกิดความถี่เรโซแนนท์ขึ้นได้
 

เพื่อจะให้ขดลวดขดที่สองเกิดการเรโซแนนท์ พลังงานที่ป้อนให้กับขดลวดขดที่สองจะต้องมีความถี่เดียวกันกับความถี่ของขดลวดขดที่สอง เหมือนการเปรียบเทียบกับการตีระฆัง ถ้าเวลาตีระฆังด้วยไม้หรือฆ้อน เมื่อคุณตีเร็วหรือช้าเกินไปไม่สอดคล้องกับการสั่น ของระฆัง เสียงของระฆังจะไม่ดังกังวาน และดังไม่มากนัก แต่ถ้าคุณตีระฆังอย่างต่อเนื่องให้มีความถี่เดียวกับการสั่นของระฆัง จะได้เสียงที่กังวานและดังกระหึ่ม อันนี้คือปรากฏการณ์เรโซแนนท์
 

พลังงานของขดลวดที่สองมาจากขดลวดขดที่หนึ่ง ซึ่งวงจรของขดลวดขดที่หนึ่งประกอบด้วย

  • หม้อแปลงไฟแรงสูง

  • ตัวเก็บประจุ (Capacitor)

  • ช่องว่าง (Spark gap)

  • ขดลวด
     

ทั้งหมดต่อขึ้นเป็นวงจรออสซิลเลต เมื่อเปิดไฟ จ่ายกระแสให้กับวงจรไฟฟ้า หม้อแปลงไฟจะจ่ายไฟให้กับตัวเก็บประจุจนเต็ม ประจุจะวิ่งกลับไปมาระหว่าง ตัวเก็บประจุกับตัวเหนี่ยวนำ เมื่อมันมีพลังงานมากพอแล้ว ประจุจะสามารถวิ่งผ่านช่องว่างได้ ความถี่ของวงจรไฟฟ้า คำนวณได้จาก ค่าของตัวเก็บประจุ และค่าของความเหนี่ยวนำ ให้ปรับแต่งความถี่ทางขดลวดที่หนึ่งจนกระทั่งมีความถี่เดียวกับขดลวดขดที่สอง พลังงานจะถูกถ่ายโอนจากขดลวดขดที่หนึ่งข้ามไปยังขดลวดขดที่สอง และถูกขยายจนมีแรงดันไฟฟ้ามหาศาล มากพอที่จะสปาร์กออกจากปลายของขดลวด

อย่างไรก็ตามเทสลาคอยด์ที่มีแรงดันไฟฟ้าระดับสูงเป็นอันตรายอย่างมาก ไม่ควรยืนอยู่ใกล้บริเวณหรือสัมผัสโดน เพราะอาจทำให้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตได้

 

อ้างอิง

 

========================================================

 

 

 

25 June 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD