Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,375
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,635
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,961
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,923
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,386
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,435
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,418
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,778
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,830
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,281
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,171
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,389
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,847
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,601
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,627
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,471
17 Industrial Provision co., ltd 40,549
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,193
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,130
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,462
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,370
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,713
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,141
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,934
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,361
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,384
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,761
28 AVERA CO., LTD. 23,490
29 เลิศบุศย์ 22,464
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,244
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,113
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,792
33 แมชชีนเทค 20,720
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,959
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,945
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,729
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,367
38 SAMWHA THAILAND 19,237
39 วอยก้า จำกัด 18,970
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,440
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,259
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,173
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,128
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,126
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,012
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,996
47 Systems integrator 17,552
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,535
49 Advanced Technology Equipment 17,338
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,323
26/04/2549 10:11 น. , อ่าน 2,773 ครั้ง
Bookmark and Share
Motor Test Run
ช่างใหม่
26/04/2549
10:11 น.
เรียนปรึกษาท่านผู้รู้ครับ<br> ถ้ามีมอเตอร์ใช้งานอยู่และต่ออยู่กับโหลดแต่อยู่ๆแล้วเกิดปัญหาเสียงดัง แต่สงสัยว่าเสียงที่ดังมาจาก Load ที่ต่อ หรือ Motor Bearing <br>จะตรวจสอบอย่างไรครับ <br> ที่มีการปฏิบัติเป็น Basic คือ มีการถอดโหลดที่ต่อมอเตอร์ออกและ Test run motor ตัวเปล่า พบว่าเสียงBearing Motorไม่ดัง แต่พอใส่โหลดแล้วเสียง Bearing Motor ดังมากยิ่งขึ้น ก็เป็นอันสรุปว่าต้องเปลี่ยน Bearing Motor<br> เผอิญว่าเป็นมอเตอร์เล็กนิดเดียวครับเลยไม่อยากเสียค่าใช้จ่ายเรื่อง Vibration Analysis มีคำแนะนำ หรือ ข้อสรุปไหมครับว่า TEST MOTOR เพื่อฟังเสียงความผิดปกติที่ Bearing ควรต่อโหลด หรือ แค่ Run ตัวเปล่าก็เพียงพอ<br> แล้วถ้า Run ตัวเปล่าเสียง Bearing มอเตอร์ไม่ดัง พอต่อโหลดกลับดัง จริงๆแล้วควรทำอย่างไรครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างใหม่
26/04/2549
16:23 น.
ขอเพิ่มเติมข้อมูลที่ถามครับ <br>ความหมายจริงๆผมทราบครับว่าการทดสอบมอเตอร์ หรือ Test Run ตามโรงซ่อมทั่วไปจะเป็น No-Load แต่เพียงแค่สงสัยต่อครับว่า ถ้าเราทดสอบการ Run แล้วมอเตอร์อาจจะไม่มีเสียงดังของ Bearing มากพอ หรือ อาจจะอยู่ในเกณฑ์ที่เรียกว่าปกติ คำถามผมคือว่า เป็นไปได้ไหมว่า พอมีโหลดต่อเข้าไปแล้วเสียงจะดังมากขึ้นกว่าเดิม ถ้าเป็นอย่างนั้นเวลาส่งมอเตอร์ไปซ่อมต้องระบุเพิ่มเติมให้ Test Run อย่างไร ต้องขอรบกวนผู้รู้ถ้าทำให้เสียเวลาอ่าน เพราะไม่ทราบจริงๆ และขอความกรุณาตอบด้วยครับ <br> ถ้าทดสอบ NO-LOAD TEST คลอบคลุมถึง ความผิดปกติที่มาจาก Bearing เสียงดังได้หมดหรือไม่
ความคิดเห็นที่ 2
ช่างซ่อมมอเตอร์
27/04/2549
19:35 น.
ขอให้ความเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>ในกรณีมอเตอร์ซึ่งขับโหลดอยู่มีเสียงดัง การแยกมอเตอร์ออกจากโหลดและทดสอบดู จากประสพการ์ณแล้วยังไม่เคยพบว่า เมื่อแบริ่งของมอเตอร์เกิดความเสียหาย จะเกิดผลการเปลี่ยนแปลงของเสียงแบริ่ง หมายความว่า ถ้าแบริ่งมอเตอร์เกิดความเสียหาย ถึงถอดแยกออกมา แบริ่งมอเตอร์ก็ยังคงที่จะส่งเสียงให้เราได้ยิน หรือตรวจจับได้อยู่ดี การทดสอบว่าเสียงนั้นเกิดจากแบริ่งหรือไม่( ขณะที่ต่อกับโหลดอยู่ ) จะใช้วิธีทดสอบโดยการอัดจาระบีเพื่อเปรียบเทียบกับเสียงเดิม กับเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อพิจารณาว่าเสียงเกิดจากแบริ่งตัวใดหรือไม่<br><br>ในหลายๆกรณี อุปกรณ์อื่นๆที่อยู่ในห้องแบริ่ง หรือหมุนไปกับเพลาอาจจะส่งสัญญาณ หรือส่งเสียงที่ทำให้คล้ายกับเสียงแบริ่งได้ คงต้องพิจารณาในส่วนนี้ประกอบไปด้วย <br><br>ถ้ามาพูดถึงการทดสอบมอเตอร์ของโรงซ่อมหรือหลังการเปลี่ยนแบริ่ง จะแบ่งออกเป็น 2 กรณี <br> กรณีแรก ลูกปืนแบบ Ball Bearing ถ้ามีการทดสอบก่อนส่งมอบลูกค้าที่ดีของโรงซ่อม เช่น มีการตรวจวัดสภาพ หรือฟังเสียงแบริ่ง และวัดอุณหภูมิของแบริ่ง เพื่อตรวจสอบความผิดปกติ โดยให้มีการหมุนตัวเปล่า อย่างน้อย 30 นาที เมื่อทดสอบผ่านจุดนี้ได้ ค่อนข้างจะการันตีได้เลยว่าเมื่อไปต่อใช้งานกับโหลดแล้ว จะไม่ก่อให้เกิดเสียงดัง แต่ก็ต้องระวังว่าหลังจากการทดสอบแล้วไม่มีขั้นตอนใดที่มีโอกาสทำให้เกิดความเสียหายที่แบริ่งขึ้นได้ เช่น การใส่คัปปิ้งโดยการตอกเข้า (นิยมใส่หลังการทดสอบ หรือลูกค้ามักจะใส่เอง ) หรือเกิดการกระแทกของเพลาในขณะขนส่ง<br><br> กรณีที่เป็นแบริ่งแบบ Roller Bearing แบริ่งประเภทนี้จะมี Clearance ในตลับแบริ่ง และพื้นที่สัมผัสค่อนข้างมาก ทำให้แบริ่งประเภทนี้จะเกิดเสียงดังเมื่อมีการทดสอบในขณะที่ไม่ได้ต่ออยู่กับโหลด เพราะเม็ดลูกปืนอยู่ในสภาวะลอยตัว ทำให้เกิดเสียงดัง ฉนั้นแบริ่งประเภทนี้จะตรงกันข้ามกับประเภทแรก คือ การทดสอบในสภาวะไม่ได้ต่ออยู่กับโหลด จะมีเสียงดังกว่า มีโหลดต่ออยู่ และถ้าเป็นแบริ่งปกติเสียงที่เกิดขึ้นก็จะไม่แตกต่างกันมากนัก
ความคิดเห็นที่ 3
สสส
21/12/2552
17:07 น.
การฟังเสียงของตลับลูกปืน
ความคิดเห็นทั้งหมด 3 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
2 May 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD