Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,374
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,633
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,956
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,920
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,383
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,432
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,418
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,775
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,818
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,277
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,171
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,388
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,842
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,601
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,623
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,469
17 Industrial Provision co., ltd 40,549
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,190
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,130
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,459
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,367
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,711
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,140
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,933
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,360
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,383
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,760
28 AVERA CO., LTD. 23,490
29 เลิศบุศย์ 22,462
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,236
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,112
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,791
33 แมชชีนเทค 20,718
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,958
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,945
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,728
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,367
38 SAMWHA THAILAND 19,235
39 วอยก้า จำกัด 18,967
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,438
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,258
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,171
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,127
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,118
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,012
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,996
47 Systems integrator 17,551
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,532
49 Advanced Technology Equipment 17,336
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,322
12/03/2549 17:34 น. , อ่าน 3,187 ครั้ง
Bookmark and Share
จะสามารถแปลง analog output 0-10V เป็น 0-220V ใน PLC Siemens S7-200 series ได้ไหม
ขอความรู้
12/03/2549
17:34 น.
เราจะสามารถใช้ PLC ควบคุมการเร่งหรี่หลอดไฟอินแคนและหลอดนีออนได้ไหมครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 15 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
www.hansakan.tk
12/03/2549
22:20 น.
เราจะสามารถใช้ PLC ควบคุมการเร่งหรี่หลอดไฟอินแคนและหลอดนีออนได้ไหมครับ<br>ได้ครับ แต่ไม่ใช่analog0-220vทำ (ไม่รู้มีหรือป่าว)ผมเห็นมีแต่ 0-10vdc หรือ 0-20 ma 4-20 ma
ความคิดเห็นที่ 2
tmcc
14/03/2549
10:04 น.
ได้น่ะครับ แต่ไม่รู้ว่าคุณมีอุปกรณ์อะไรให้บ้าง ที่จะใช้ โปรดบอกรายละเอียดของอุปกรณืที่จะใช้ในงานคุณให้มากกว่านี้น่ะครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ขอความรู้
14/03/2549
17:42 น.
ขอบคุณครับ ตอนนี้ผมมี analog output module 0-10dc แต่ยังหาอุปกรณ์ที่มา interface เพื่อ drive หลอดไฟ 220vac ยังไม่ได้เลยครับไม่ทราบว่ามี ตัว DC to AC converter พวกนี้หรือเปล่าครับ
ความคิดเห็นที่ 4
mouse
14/03/2549
18:33 น.
อาจใช้อินเวอร์เตอร์ก็ได้ หรือจะแปลงวงจรเองก็ได้น่ะครับ สามารถทำได้ครับ
ความคิดเห็นที่ 5
teddy
14/03/2549
18:38 น.
ผมเองก็อยากรู้เหมือนกันครับ ยังไงมีใครรู้ช่วยตอบทีนะครับ
ความคิดเห็นที่ 6
x
20/03/2549
09:26 น.
หาเอา PLC ไปหรี่ไฟ แม่งคิดได้ไงว่ะ คุ้มมาก
ความคิดเห็นที่ 7
Hanaka
20/03/2549
10:42 น.
ถ้าจะแค่ หรี่ไฟหลอดอินแคน โดยใช้สัญญาณควบคุม แบบ 0-10 V<br>นี้ถ้าจะเอาจริง ๆ ก็พอทำได้<br>ไปลองหาซื้อ Dimmer (ตัวหรี่ไฟสำหรับหลอดอินแคน)<br>แล้วนำมา Modify โดยการนำสัญญาณ 0-10 V ไปควบคุมดู<br>น่าจะคุ้มที่สุด
ความคิดเห็นที่ 8
mouse
20/03/2549
12:16 น.
ต้องดูว่าจะเอาไปทำงานอะไรน่ะครับ ถ้าถามไรก็ช่วยบอกคอนเซป การใช้งาน ต้องการทำเพื่อเหตุผลใดเป็นอุตสาหกรรมหรือทำเล่นๆ แล้วก็งบประมาณ จะได้แนะนำถูกครับ
ความคิดเห็นที่ 9
kon
24/03/2549
14:31 น.
ก็ใช้ Triac สิครับ โดยนำ analog output ไป trig ที่ขา gate ของ Triac หากต้องการรายละเอียดก็คุยกันได้ที่<a href="mailto:pornchai-expert@hotmail.com" Target="_BLANK">pornchai-expert@hotmail.com</a>
ความคิดเห็นที่ 10
tmcc
29/03/2549
21:53 น.
งั้นก็แจ๋วเลยน่ะครับ อย่างที่คุณ Kon บอกก็ถูกน่ะครับ<br><br>สรุปอุปกรณ์ที่ต้องเตรียม <br>1.บอรด์ Trig Triac ขนาดกระแสขึ้นกับงานของคุณน่ะครับ หรือใช้ SSR ร่วมด้วยก็ได้น่ะครับ<br>2.อุปกรณ์แปลงจาก 0-10V เป็น มุมจุดฉนวน 0-180 องศา โดยต้อง Synchronise กับ ระบบไฟฟ้าด้วย<br><a href="mailto:tmccontrol@yahoo.com" Target="_BLANK">tmccontrol@yahoo.com</a>
ความคิดเห็นที่ 11
Kung
03/04/2549
13:19 น.
คุณต้องสร้างคอนโทรลขึ้นมาก่อนโดยการต่อบนแผ่นโปรโตบอร์ดก็ได้ใช้ IC เบอร์ TCA280B วงจรหาได้จาก Datasheet หรือในนิตยสารเกี่ยวกับโครงงานอิเลคทรอนิคส์ ถ้าจำไม่ผิดเคยมีลงในโครงงานเรื่องเครื่องหรีไฟไม่จำกัดวัตต์ ของนิตยสารอะไรนั้นจำแต่เกี่ยวกับโครงงานอิเลคทรอนิคนี่แหละ ต้องลองหาดูตามศูนย์หนังสือครับ แล้วในส่วนวงจร Power สามารถใช้ Triac หรือ SCR ก็ได้ แต่ถ้าใช้งานแค่หรี่ไฟผมว่ามันไม่คุ้มน่ะหาวิธีอื่นดีกว่า แต่ถ้าใช้งานอื่นก็พอได้เพราะ IC เบอร์นี้เป็น Gerneral purpose triggering อยู่แล้ว ใช้คอนโทรลทั้งสามเฟสยังได้เลย
ความคิดเห็นที่ 12
bill
28/04/2549
15:43 น.
โง่บรรลัย
ความคิดเห็นที่ 13
สมคะเน ดวงจิตร
03/09/2550
22:16 น.
ไม่แสดงความคินเห็นนะคับ
ความคิดเห็นที่ 14
เต้ย
08/11/2550
16:18 น.
ควรใช้ dimmer ในการหรี่หลอดไส้ ราคาแค่ไม่กี่บาท<br>ถ้าใช้ PLC มันไม่มีคุณสมบัติที่จะนำมาหรี่ไฟเลยค่ะ<br>
ความคิดเห็นที่ 15
zaya
10/02/2552
12:08 น.
ที่มาของเครื่องหรีไฟ
ความคิดเห็นทั้งหมด 15 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
1 May 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD