Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,373
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,633
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,953
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,919
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,383
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,432
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,418
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,775
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,818
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,277
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,171
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,388
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,841
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,600
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,623
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,469
17 Industrial Provision co., ltd 40,549
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,189
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,130
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,459
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,367
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,711
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,140
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,933
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,360
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,383
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,760
28 AVERA CO., LTD. 23,490
29 เลิศบุศย์ 22,462
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,236
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,112
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,791
33 แมชชีนเทค 20,718
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,958
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,945
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,726
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,367
38 SAMWHA THAILAND 19,234
39 วอยก้า จำกัด 18,966
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,438
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,258
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,171
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,127
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,118
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,011
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,996
47 Systems integrator 17,551
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,532
49 Advanced Technology Equipment 17,335
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,322
17/03/2554 13:26 น. , อ่าน 5,246 ครั้ง
Bookmark and Share
วิธีหรืออุปกรณ์แนวคิดการตรวจฟองอากาศในเนื้อโลหะ
ขอแนวคิดครับ
17/03/2554
13:26 น.
พอดีว่าอยากจะคิดค้นระบบ
ที่ไว้ตรวจสอบฟองอากาศในชิ้นส่วนโลหะ
คือ เช่นชิ้นส่วนที่เกิดจากการหล่อ แล้วเมื่อนำมาผ่านการกลึงเสร็จแล้ว
แต่บางทียังกลึงไม่ถึงส่วนที่เป็นฟองอากาศทำให้ไม่สามารถตรวจสอบได้แน่ชัดว่า
ชิ้นส่วนที่กลึงออกมามีฟองอากาศอยู่หรือไม่

จึงอยากได้แนวคิดหรือเซนเซอร์ที่สามารถตรวจจับได้ดูครับ

ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 7 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างวรเดช(ปลอมตัวมา)
17/03/2554
15:06 น.
ถ้าชิ้นงานมีอันเดียวทำ ยากจัง

แต่หากมากกว่าสองอัน ให้กลึงตัวที่สมบูรณ์ไว้ เก็บขึ้นหิ้งเลย

ไว้ชั่งน้ำหนัก เทียบกับตัวอื่นๆ

มันจะลำบากไปไม๊

อุอุ
ความคิดเห็นที่ 2
ขอแนวคิดครับ
17/03/2554
16:31 น.
ถ้าหากฟองอากาศมันเล็กมากเช่น 0.5 cm อะไรแบบนี้
การชั่งน้ำหนักพี่ว่าจะ เสถียรไหม
ถ้าจะให้ทำเป็น +- ค่า error ก็ไม่เสถียรอีกผมว่า
หรือว่ายังไงครับ

ขอบคุณครับสำหรับคำแนะนำ
ยังไงมีอะไรใหม่แนะนำได้นะครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ช่างวรเดช(ปลอมตัวมา)
18/03/2554
07:40 น.
งั้น เฮีย ต้องลงทุนนิดนึง

เอามันไปเผา

แล้วยิงมันด้วยตัวนี้

อิอิ

แล้วเฮียวิเคราะห์ เอาเองที่เหลือ อิอิ
ความคิดเห็นที่ 4
ช่างวรเดช(ปลอมตัวมา)
18/03/2554
07:49 น.
เฮีย ๆ เอางี้ ไม่ต้องเผาแล้ว เอามันไปต้ม น้ำ หรือ ทอด น้ำมันก็ได้ อิอิ

ประหยัดกว่า และเนื้อความร้อนในก้อนงานจะเสถียรกว่า

ที่นี้ เฮียก็จะเห็นว่างานหล่อของเฮีย น่ะ ต๊ะติ๊งโหน่ง อะ เป่า อิอิ
ความคิดเห็นที่ 5
ช่างวรเดช
18/03/2554
08:59 น.
เอ่อ ว่าแต่ ราคามันเนี๊ย ผมไม่ทราบครับ
ความคิดเห็นที่ 6
สืบศักดิ์
18/03/2554
14:47 น.
สำหรับเรื่องการตรวจหาฟองอากาศ ในเนื้อเหล็กหล่อ หรือ วัสดุอื่นๆ อาจจะหาด้วยวิธีชั่งน้ำหนักได้ยากมาก เนื่องจาก ปริมาณของฟอง/พท. ในระดับคุณภาพ อาจมีน้ำหนักต่างกัน เพียงไม่กี่ มิลลิกรัม และ ขนาดของชิ้นงาน ที่ยอมรับได้ ก็มีน้ำหนักที่ต่างกัน เป็นกรัมแล้ว มองแทบไม่เห็น หรือ ผิดพลาดสูง

เหล็กหล่อ แต่ละชิ้น ต่อให้กลึงเสร็จแล้ว ก็ยังมีค่าความแตกต่างด้านน้ำหนัก เช่นกัน (เป็นกรัม)

ประเด็นถัดมา ในการนำเสนอเครื่องมือ thermal scan ตามความเห็น 3 นั้น เป็นการวัดความร้อนบนพื้นผิว มิได้ซึมลึกลงไปในเนื่อโลหะ แม้ว่า ความร้อนสะสม ในเนื้อโลหะ จะแตกต่างกัน จนทำให้ภาพความร้อน มีสีแดง น้อยลงในบางจุดก็ตาม
แต่ ฟองที่เกิดและ เป็นปัญหาในเหล็กหล่อ อาจมิได้ใหญ่ จนเครื่องสแกนแบบนี้ จะมองเห็นได้ จากความแตกต่างของ อุณหภูมิสี

อย่างไร ก็ดี คำถามนี้ มีการตอบกัน ใน เวบพันทิพย์ ซึ่งผู้ตอบ แต่ละราย ถือว่ามีหลักในการ ตอบ ดังนั้น ขออนุญาต ไม่เล่า ไปทัศนากันเอง
http://www.pantip.com/tech/electronics/topic/EE2992448/EE2992448.html

โดยส่วนตัว คิดว่า การวิเคราะห์จากคลื่นเสียงความถี่สูง น่าจะเป็นตัวเลือกที่ทำให้ สร้างเครื่องมือได้ถูกกว่า เมื่อเทียบกับ แบบ X-ray

แต่ทั้งนี้ ทั้งนั้น ผมไม่ได้ตรวจสอบมากกว่านี้ จึงขอให้ผู้สนใจ พึงพิจารณาเอง
อย่างไรก็ดี หากอยากศึกษาเพิ่มเติม แนะนำ ให้ค้นหา งานวิจัยของต่างประเทศ
ดีกว่า จะได้เห็นแนวคิด และ การทำวิจัย ในหลากหลายรูปแบบ

เนื่องจาก NDT (None Destructive Testing) เริ่มมีความสำคัญมากขึ้นทุกๆวัน และการพัฒนาใหม่ มักยังไม่ปรากฎ สู่สายตาชาวโลก ผ่านทางโลกไซเบอร์ หรือ อินเตอรเน็ท สักเท่าไร นักวิจัยแต่ละรายก็ยัง ทำๆ กันไป
ความคิดเห็นที่ 7
อาคม
15/04/2554
22:50 น.
มันมีเครื่องแบบ non-destructive analysis ที่เรียกว่า Scanning Acoustic Microscope (SAM) อยู่ครับ หลักการคือเอางานจุ่มในน้ำ แล้วยิงคลื่น ultrasonic เข้าไป เป็นหลักการเดียวกับ sonar หาปลาครับ เมื่อคลื่นนี้เจออากาศจะเกิดการสะท้อนกลับหมดและกลับเฟส 180 องศา ทำให้เราสามารถตรวจจับฟองอากาศในชิ้นงานได้ครับ แต่เครื่องแพงเหมือนกัน ถ้าใช้วัสดุชนิดเดียวทั้งชิ้นก็ง่ายครับไม่น่ามีปัญหา

ลองหาคำว่า Scanning Acoustic Microscope ใน internet นะครับ เครื่องนี้โรงงานที่ทำ IC จำเป็นต้องมีทุกโรงงานครับ เอาไว้ตรวจจับว่าใน IC มีช่องว่างอากาศหรือไม่ เพราะจะทำให้เกิดความร้อนสะสมและการแยกตัวได้ครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 7 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
30 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD