Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,375
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,635
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,961
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,923
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,386
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,435
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,418
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,778
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,830
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,281
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,171
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,389
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,847
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,601
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,627
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,471
17 Industrial Provision co., ltd 40,549
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,193
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,130
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,462
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,370
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,713
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,141
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,934
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,361
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,384
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,761
28 AVERA CO., LTD. 23,490
29 เลิศบุศย์ 22,464
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,244
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,113
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,792
33 แมชชีนเทค 20,720
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,959
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,945
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,729
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,367
38 SAMWHA THAILAND 19,237
39 วอยก้า จำกัด 18,970
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,440
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,259
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,173
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,128
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,126
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,012
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,996
47 Systems integrator 17,552
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,535
49 Advanced Technology Equipment 17,338
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,323
09/11/2550 10:39 น. , อ่าน 1,992 ครั้ง
Bookmark and Share
คุณภาพของชิ้นงาน
หมากเล็บแมว
09/11/2550
10:39 น.
หากมีการผลิตชิ้นงานต่อเนื่องเป็นจำนวนมาก เราจะเชื่อได้อย่างไรว่าชิ้นงานที่ทำออกมานั้นได้ตามเงื่อนไข เช่น ขนาด รูปร่าง น้ำหนัก พื้นผิว ความมันวาว เป็นต้น <br>ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
tong
09/11/2550
11:10 น.
สำหรับเรื่องนี้นั้น ต้องเข้าใจเรื่อง GD&amp;T ก่อนใน หลักการและพื้นฐานก่อน แล้วพอในขั้นตอนการทำงานจริงจะมาใช้<br>IPD&amp;Manu Using GD&amp;T ซึ่งจะเป็นการนำGD&amp;Tมาใช้งานจริงๆ<br>เรื่องนี้เพิ่งคุยกับคุณ สืบ เมื่อคืนตอนนั่งคุยกัน ว่าจะมีหัวข้อนี้ในงาน สัมนาที่จะจัดขึ้น เร็วๆนี้ครับ รอหน่อยละกันสำหรับรายละเอียด
ความคิดเห็นที่ 2
สืบศักดิ์
09/11/2550
11:28 น.
เรื่อง นี้ ต้องมีการกำหนด Quality Planning และ สามารถเทียบ ได้กับ ระบบมาตรฐาน ทั้งในและนอก หรือ แม้แต่ ยอมรับ ซึ่งกัน และกัน ของผู้ผลิต ผู้จ้าง <br><br>การผลิต งาน แบบ Mass ที่ต้องการให้ คุณภาพ ในการผลิต คงที่ มี สองประเด็น ที่ต้องพิจารณา <br><br>1. สร้างระบบ และ ตรวจสอบ ระบบ ให้ถูกต้อง ตลอดจนคงระดับ และรักษาระดับของ คุณภาพ ด้วยวิธีการที่ สร้างไว้ ซึ่งเป็น ลักษณะ ของ TQM <br><br>หรือ <br>2. สร้างระบบ QC ตรวจสอบ เหมือนอย่างที่ เราท่าน ทำๆ กันมา ก็จัดในประเภท TQC หรือ อีกแบบ คือ จัดกิจกรรม QCC <br><br>กรณี TQM หากทำให้ครบถ้วน สมบูรณ์ เป็นเรื่องยากมาก ต้องมีเวลาในการเก็บ บันทึก และ วิเคราะห์ ทดสอบ หลายขั้นตอน และทำ ทั้งระบบ เป็นเหตุให้ ต้นทุนในการทำ สูงมาก <br><br>หลายโรงงาน จึง ทำได้เพียง ระดับ TQC
ความคิดเห็นที่ 3
tee
09/11/2550
16:18 น.
ทำ jig เช็ค 100% ใน process แล้วควบคุมด้วยระบบครับ
ความคิดเห็นที่ 4
หมากเล็บแมว
09/11/2550
16:59 น.
GO/NO GO คงใช้ไม่ได้มั้งครับ ที่ถามมานีเป็นงานที่ต้องการข้อมูลที่เป็นการวัดครับไม่ใช่นับ
ความคิดเห็นที่ 5
สืบศักดิ์
09/11/2550
23:16 น.
เงื่อนไข เช่น ขนาด รูปร่าง น้ำหนัก พื้นผิว ความมันวาว<br><br>( โทษ ที ลอก โจทย์ เดี๋ยว เพี้ยน ประเด็น อีก เหมือน คราวก่อน ) <br><br>สำหรับ กรณี ที่ต้องการควบคุม ให้ คงที่ได้ จำเป็น ต้องเริ่มจาก การสร้าง Quality Planning ก่อน <br>จากนั้น จำเป็นต้อง สร้างระบบการบันทึก เพื่อการสอบย้อน แต่ต้องรู้ลำดับ ด้วย <br>เช่น ตรวจ เป็น ระยะ เช่น ชิ้นที่ 5, 10, 20, 50 แล้วแต่ปริมาณ และเวลาผลิต <br>โดย ต้องกำหนด ค่ามาตรฐาน ของแต่ละอย่างก่อน ไม่ว่า จะเป็น <br><br>ขนาด รูปร่าง น้ำหนัก ที่ต้อง ตรวจสอบ โดยการวัดค่า <br>พื้นผิว ความมันวาว ต้องกำหนด ว่า ต้องการค่า Ra Rz Rmax เท่าใด และ ทิศทางของเครื่องมือ ไปทางใด ตอนทำผิวสำเร็จ <br><br>เมื่อกำหนด ค่า ต่างๆ แล้ว และรวมถึง ตัวอย่างของดี และ เสีย ด้วย <br>เพื่อให้ผู้ทำงาน ทราบ <br><br>ทีนี้ ก็เป็น การผลิต และ เก็บบันทึก ในระหว่างผลิต การเก็บ สถิติ ถ้าให้ดี บันทึก ให้ครบ ทุกจุดทุกประเด็น เช่น ระยะเวลาในการเปลี่ยน tool ความเร็วรอบ Depth รูปทรงของเครื่องมือ วัสดุของเครื่องมือ จำนวนชิ้น ก่อนการกรีดหิน(หินเจียร) และ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง <br><br>ส่วน หากเป็น ด้าน แม่พิมพ์ หรือ พิมพ์ ปั้ม ก็ต้อง บันทึก เช่น กัน หาจุดที่จะเกิดผล ต่อ คุณภาพของงานให้เจอ เช่น อุณหภูมิน้ำ ฉีดสารหล่อลื่น มากน้อย เพียงใด ฯลฯ <br><br>สุดท้าย บันทึก ที่ได้มา ต้อง ทำกราฟ ที่เกี่ยวข้อง ของ จำนวนที่ผลิต และ ค่าที่ผันแปรไป ในแต่ละ ชิ้น หรือ ช่วงเวลา ที่ทำการผลิต <br><br>แล้ว จึงจะ ตัดสินใจได้ว่า เมื่อใด หรือ ตอนไหน ต้องทำอะไร <br>เพื่อรักษาระดับ คุณภาพ เช่น <br> เปลี่ยน Tool เปลี่ยนมุมมีด <br>กรีดหิน <br>เปลี่ยนน้ำหล่อเย็น <br>หยุดพักเครื่อง <br><br>แต่ หาก เครื่องมือ วัด ผิดพลาด หรือ การประเมิน ผิดพลาด จากข้อมูล ที่ไม่ได้ทำจริง ก็ จะผิด เช่นกัน <br><br>อีกเรื่องที่อาจนำมาพิจารณา คือ ตรวจวัด และ ทดสอบ เครื่องจักร ว่าทำงาน อยู่ใน ความแม่นยำ ที่ถูกต้อง หรือ ไม่ <br><br>เปรียบเทียบ ง่าย ๆ คือ หาก รถคุณศูนย์เอียง จะขับให้ตรงโดยปล่อยมือ ไม่ได้ <br><br>
ความคิดเห็นที่ 6
มะขวิด
10/11/2550
13:03 น.
ไม่ทราบว่าคุณหมากเล็บแมว จะเจอปัญหาเหมือนกับผมหรือเปล่า ระบบมีครับ แต่คนไม่ค่อยทำตามระบบ ทีนี้พอเกิดปัญหา วุ่นวายมาก บ.ผม เป็น maker ผลิตชิ้นสวน ให้บ.ญี่ปุ่น บ.หนึ่ง ตอนทำตัวอย่างเขาวัดทุก point ที่ dwg. ให้ขนาด วัดแม้แต่ความยาวของรอยเชื่อม ผมนี่เหนื่อยมาก กว่าจะทำตัวอย่างได้ผ่านแต่ละงาน แต่ถ้าเรื่องของ dim. ผ่านแล้ว เขาจะเทสต์ตัวอย่าง แค่ 3 pcs หลังจากนั้นเขาจะไม่ตรวจอีก ผลิตติดต่อกัน 5 ปี ถ้าเขายังประกอบได้ เขาก็จะไม่มาสุ่มตรวจงานของเราอีก เรายอมรับกันที่ jig ครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 6 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
2 May 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD