Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,374
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,633
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,959
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,922
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,385
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,435
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,418
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,778
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,828
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,279
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,171
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,389
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,844
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,601
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,625
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,469
17 Industrial Provision co., ltd 40,549
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,192
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,130
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,460
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,369
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,713
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,140
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,934
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,361
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,383
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,761
28 AVERA CO., LTD. 23,490
29 เลิศบุศย์ 22,463
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,243
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,113
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,792
33 แมชชีนเทค 20,720
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,958
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,945
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,728
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,367
38 SAMWHA THAILAND 19,237
39 วอยก้า จำกัด 18,968
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,439
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,259
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,171
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,128
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,126
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,012
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,996
47 Systems integrator 17,552
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,534
49 Advanced Technology Equipment 17,338
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,322
29/05/2550 13:35 น. , อ่าน 2,205 ครั้ง
Bookmark and Share
รู้สึกงงๆ
tong
29/05/2550
13:35 น.
ได้ ดูและได้ อ่านกระทู้เรื่อง เครื่องCNC เรื่อง CAD/CAM/CAE มา ระดับนึง รู้สึกไม่เข้าใจและงงในคำถามหลายคนออกมาแบบเดียว กัน คือชอบขอดูเครื่องตัวอย่าง<br>ให้กัดงานให้ดูแล้ว บอกว่า เครื่องนี้กัดนิ่มกว่าเครื่องนั้น ผม อ่านแล้ว งง ครับ เพราะเจอแบบนี้แต่ในประเทศไทยเราโดยเฉพาะกับโรงงานที่กำลังคิดจะยกระดับ<br>มีเครื่องCNCใช้มี CAD/CAM ใช้ ที่งง เพราะ โดยหลักสากล เวลาเขาซื้อเครื่องCNCนั้น เขาจะดูที่เอกสาร ค่า ACCETANCE TESTING (TC39)ทั้งนั้นในต่างประเทศ<br>เรื่องการลองเครื่องให้ทำงาน จะทำหลังจาก ติดตั้งเสร็จ ต่อไฟเข้า เปิดเครื่องRUNให้ดู ไม่มีใคร เขาดู ที่ รอยMACHINEชิ้นงานแล้ว มาบอกว่า เครื่องนั้นออกมาผิวสวยกว่า<br>เครื่องนี้ นั่น เป็นวิธีการทำCAM และGEN-G-CODE และฝีมือของOPERATORหน้าเครื่องว่าเปิด SPEED AND FEEDเต็มตามที่ คนทำ CAMทำออกมามัน ไม่ใช่ตัววัดว่า<br>ดูเครื่องว่าเดินนิ่ม แล้ว เครื่องดี เลยงง กับ อุตสาหกรรม ไทย ว่าจริงๆแล้วซื้อเพราะรแค่อยากดูเครื่องว่ากัดนิ่ม ไม่สั่น หรือ ดูที่ ประสิทธิภาพเครื่องกันแน่น งงจริงๆ
ความคิดเห็นทั้งหมด 15 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
สืบศักดิ์
30/05/2550
15:22 น.
หวัดดี คุณ tong <br><br>มันเป็นเรื่อง ปกติ ของประเทศ กำลังพัฒนา ที่ถูกปิดกั้น ทางความคิด และ ความรู้ หรือ เปล่า <br>เอกสารทางวิชาการ ที่ควรจะมีการเผยแพร่ ให้อ่านง่าย ก็ไม่ค่อยมี<br>บทแปล บางเรื่อง ใช้นักภาษาศาสตร์ ไม่ใช่ นักปฏิบัติ <br>การหา ความรู้ เพื่อต่อยอด ไม่อยากทำ เพราะกลัว ตกงาน <br>และ อื่นๆ อีก มาก ในสังคม <br><br>คงต้อง ปล่อยให้เป็น ไปกระมัง เพราะไม่ต้องการโทษใคร <br><br>เอาเป็นว่า นัดกิน กาแฟ กันดีกว่า ( เปลี่ยนเบอร์โทรหรือเปล่า)
ความคิดเห็นที่ 2
tong
31/05/2550
01:03 น.
เดี๋ยวโทรไปหา
ความคิดเห็นที่ 3
tong
31/05/2550
15:53 น.
จะนัด เจอ กะ คุณ สืบ ใคร สนใจ ไปด้วย กัน ยกมือ ด้วย
ความคิดเห็นที่ 4
สืบศักดิ์
01/06/2550
10:23 น.
เชิญ วันที่ 24 ที่ไบเทค ตอนบ่ายดีก่า <br>เดี๋ยว คนน้อย <br><br>ไปดู นวตกรรม ใหม่ของ การสร้างใส้แม่พิมพ์ฉีด หรือ ชิ้นงาน <br>โดยไม่ต้อง อาศัยเครื่องกลึง กัด EDM ทำได้ไง ? อิ อิ <br>( น่าจะรู้อยู่แล้ว นิ เอาเป็นว่า กลัวเหงา ในวันนั้น แหละ )
ความคิดเห็นที่ 5
petch
05/06/2550
00:52 น.
ผมคิดว่าเขาไม่รู้เรื่องเครื่องจักร ดีพอผมเองก็ไม่รู้เรื่อง <br>ACCETANCE TESTING (TC39)เลย ลองหาจาก google แล้ว ยังไม่ชัดเจน ถ้า คุณสืบหรือคุณ tong กรุณาช่วยอธิบายเป็นวิทยาทาน นิดนึงครับ เขาทำอย่างไร
ความคิดเห็นที่ 6
พสิษฐ์
05/06/2550
07:44 น.
เออมันคือไรครับเจ้าACCETANCE TESTING (TC39)อยากรู้เหมือนกันเวลาซื้อเครื่องจะขอเค้าดูบ้าง แล้วดูเจ้าตัวนี้สามารถตัดสินได้เลยใช่เปล่าว่าเครื่องนั้นดีใช่หรือไม่
ความคิดเห็นที่ 7
สืบศักดิ์
05/06/2550
12:07 น.
หาก พูดถึงเครื่องมือวัด หลายคน อาจรู้หรือ เข้าใจความแตกต่าง ระหว่าง Precision กับ Accuracy และ Tollerance (ค่าพิกัดความเผื่อ ) <br>หรือ แม้แต่ใน Drawing ที่ถูกต้อง จำเป็นต้องกำหนด ค่าเผื่อต่างๆ ไว้ เช่น พิกัดความตรง พิกัดการเจาะรู พิกัดความฉาก และอื่นๆ อีกมากมาย <br><br>เครื่องจักร ก็เป็นสิ่งที่ต้องสร้างตามมาตรฐาน เช่นกัน ซึ่ง TC-39 ก็เป็นมาตรฐาน ที่กำหนดให้กับการสร้างเครื่องจักร ซึ่งต้องมีการวัดและตรวจสอบ ค่าต่างๆของเครื่อง ตามข้อกำหนดในการสร้าง ซึ่งคำถามคือ พวกคุณๆ ท่านๆ ทั้งหลาย เคยเห็น หรือ เคยขอใบนี้จากผู้สร้างเครื่องหรือ เปล่า <br>(ส่วนตัว เคยเห็น และ เคยตรวจรับเครื่องในต่างประเทศ ก่อนส่งมาไทย แล้วครับ ) <br><br>สรุปให้เข้าใจง่ายๆ คือ <br>เวลาที่มีคนมาจ้างคุณผลิตของ หรือ ชิ้นส่วนใดๆ เขาจะมี Drawing ที่กำหนดมาให้ และ ท่านทั้งหลาย ส่วนใหญ่ต้องทำ ใบ Inspection Data แนบของเวลาส่ง <br><br>เครื่องจักร ก็ เป็นเหมือนของชิ้นหนึ่งเช่นกัน แต่เวลาซื้อ ไม่เห็นมีถามถึงกันเลย ทั้งๆ ที่ขอได้ และเป็นสิทธของผู้ซื้อ <br>ดังนั้น เมื่อเครื่องมาถึง จึงไม่รู้ว่า เครื่องนั้น ตรงตามมาตรฐานสากล ที่กำหนดสำหรับ การสร้างเครื่องจักร หรือไม่ <br><br>( มาตรฐานส่วนใหญ่ ไม่สามารถ ค้นหาเนื้อความเต็มๆ ได้จาก เน็ต เพราะเป็นเอกสารสำคัญ และ เขาพิมพ์ไว้ขาย แต่จะมีข้อมูลคร่าว เช่น รหัส และชื่อของข้อกำหนด ตามรหัสนั้น ซึ่งหาได้จ๊ะ ) <br><br>อ้าว คุณ tong ว่าไง ใกล้เคียงความหมายไหม ? <br>
ความคิดเห็นที่ 8
petch
07/06/2550
21:14 น.
ถ้าเอาเครื่องจักรเก่า มา retrofit เราจะทำทดสอบค่าพวกนี้อย่างไรละ และใครละ จะเป็นผู้ตรวจสอบ และ จะทำอย่างไรดี
ความคิดเห็นที่ 9
tong
16/06/2550
00:43 น.
เข้ามาอ่านนานแล้ว ละแต่ยังไม่ได้ ตอบเพระมึนเอาทีละเรื่องตอบคุณพสิษฐ ก่อนคำตอบต้องแบ่งอย่างนี้ครับสำหรับเครื่องCNCนั้นแบ่งเป็น 2 ส่วนคือทางด้านระบบเครื่องกล กับ ระบบไฟฟ้า ผมพยายามจะอธิบายให้ง่ายที่สุดนะ ถ้าในระบบเครื่องกลตัวนี้ละครับชี้ขาดกันเลยละส่วนระบบไฟฟ้าก็จะมีการtestของส่วนไฟฟ้านั้นอีกชุดนึง okนะ มาคุณ petchในเรื่องนี้ที่ว่าใครจะทดสอบนะในประเทศไทยนะเวลานี้มีคนที่เข้าใจและรู้เรื่องนี้ไม่เกิน5คนครับ 1คนอยู่ทัพบก 1คน1อยู่ทัพเรือ 1คน 1คน เป็นอาจารย์อยู่ในมหาลัยแห่งนึง อีกหนึ่งคือผมเอง อีกหนึ่งนั้นขณะนี้ได้ถูกบริษัทสร้างเครื่องจักรของพม่าให้ไปวางระบบนี้อยู่ ซึ่งบางครั้งก็มาหาผมบ้างเวลาเขากลับเมืองไทย 5คนนี้ ไม่เกี่ยวกับที่ โรงงานต่างๆจ้างผมไปสอนนะ ครับคนละแบบกันเพราะฉะนั้นบุคลกรที่จะทดสอบค่าประเถทนี้ได้เมืองไทยมีเท่านี้ละครับตอนนี้เอกชน ก็จะมีผมคนเดียวละ ครับokนะครับ ต่อที่ว่าทำไมหาในnet แล้วไม่เจอเพราะว่าเรื่องนี้เป็นหัวใจที่สำคัญมากสำหรับกลุ่มหรือประเทศที่ต้องการผลิตเครื่องจักรขายเขาเก็บเป็นความลับครับไม่มีเอกสารที่จะอยู่ในnet หรือส่งมาทางemail ในเรื่องนี้เขาทำและส่งเป็นhardcopyอย่างเดียวครับ ทุกครั้งที่ผมได้ อ่านฉับบที่จะมีการยกร่างใหม่เขาก็ส่งมาเป็นพัสดุไปษณีครับ เลยหากันไม่มี น่ะครับด้วยเหตุฉะนี้ คราวหน้ามีเรื่องมาบ่นใหม่นะ
ความคิดเห็นที่ 10
petch
17/06/2550
04:26 น.
ส่ง mail มาให้คนไม่รู้อ่านบ้างก็น่า เป็นประโยชน์ ผมได้นำมาเป็นหลักยึดบ้าง จะได้คุยกันเป็นภาษาเดียวกัน จะได้มีคนไทยมีคนรู้มากขึ้น จะได้ไม่มีแค่ 5 คน wไม่งั้นเดียวเมืองไทยล้าหลังพม่า แย่ตาย โ พงเลย ยิ่งตอนนี้ คนไทยชอบทะเละกันเอง อยู่ <br> <a href="mailto:petchmail10@yahoo.com" Target="_BLANK">petchmail10@yahoo.com</a> <br> ผมขอขอบคุณล่วงหน้าแล้วกัน <br>
ความคิดเห็นที่ 11
tong
17/06/2550
20:39 น.
คุณpetch เข้าใจง่ายไปกระมั่งครับ ถ้าง่ายขนาดนั้นทางพม่าคงไม่ต้องจ้างคนไทยไปวางระบบให้ แล้วทาง ทบ กับ ทร เองคงไม่ต้องส่งคนไปเรียนโดยตรงมั้งครับ ถ้าแค่อ่านเอกสารแล้วเข้าใจ สั่ง ของISO ของDIN หรือ ของJISมาแล้วอ่านตามนั้น มันจบ ที่ทำงานเก่าผมคงไม่ต้องเสียตังเยอะขนาด ส่งผมไปเรียนโดยตรงกลับมาหรอกครับคุณ
ความคิดเห็นที่ 12
petch
18/06/2550
17:49 น.
แล้ว เราจะทำเพื่อประเทศชาติอย่างไรดีครับ ในเมื่อมีคนรู้ แต่ถูกจำกัดจำนวน น่าเสียดายจัง<br> ไม่เปงไร (คนไม่มีโอ ก า ศ)
ความคิดเห็นที่ 13
petch ถามคุณสืบ
18/06/2550
18:00 น.
ถามคุณสืบ เครื่องมือสอง ที่ซื้อมาจากญี่ปุ่นนะ สามารถขอเอกสาร มาตรฐาน TC-39 อะไรนั่นนะได้หรือเปล่า และ คู่มือที่ติดมากับเครื่อง(มีติดมาบ้าง บางครั้ง)ประกอบไปด้วย แบบไฟฟ้า จุดติดตั้งอุปกรณ์ ชือ่อุปกรณ์ คู่มือการใช้เครื่อง ตัวเลฃรหัสที่เกียงข้องกับการทำงานของเครื่อง แบบวงจร ladder PLC เกี่ยวข้องกับ มาตรฐาน TC-39 อะไรนั่นหรือเปล่า <br> จากคนชอบถาม
ความคิดเห็นที่ 14
สืบศักดิ์
19/06/2550
13:18 น.
แสดงว่า คุณ petch ไม่เข้าใจความแตกต่างระหว่าง เอกสารระบบมาตรฐาน กับ ใบ Inspection เอกสารผลการตรวจสอบ <br><br>มาตรฐาน เป็น ข้อกำหนด <br>เอกสารบันทึกการตรวจสอบ เป็น ผลของการปฏิบัติ ซึ่งต้องมี การบรรญัติ วิธีการปฎิบัติ และวิธีการบันทึกตรวจสอบ นั่นหมายความว่า หากเราไม่เข้าใจ มาตรฐาน ก็ไม่สามารถสร้างวิธีการตรวจสอบ และบันทึกได้ <br><br>เหมือนกับ การทำให้บริษัท โรงงาน ได้รับการรับรอง มาตรฐาน ISO-9000 หรือ อื่นๆ นั่นแหละ <br><br><br>
ความคิดเห็นที่ 15
petch
22/06/2550
01:47 น.
ก็ไม่รู้นี่ครับ บริษัทยังไม่มี ISO ต้องรอผลงานเป็นที่ยอมรับก่อน (ไม่รู้เมื่อไรเหมือนกัน) แต่ตอนนี้ก็พอนึกกระบวนการออกและ
ความคิดเห็นทั้งหมด 15 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง:
2 May 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD