Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,371
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,632
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,953
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,918
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,381
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,430
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,416
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,774
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,818
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,276
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,170
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,387
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,840
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,598
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,622
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,466
17 Industrial Provision co., ltd 40,547
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,188
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,127
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,457
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,366
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,710
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,139
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,932
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,359
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,382
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,759
28 AVERA CO., LTD. 23,489
29 เลิศบุศย์ 22,461
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,235
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,111
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,790
33 แมชชีนเทค 20,717
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,955
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,944
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,726
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,366
38 SAMWHA THAILAND 19,233
39 วอยก้า จำกัด 18,966
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,436
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,257
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,170
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,125
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,118
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,010
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,995
47 Systems integrator 17,549
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,531
49 Advanced Technology Equipment 17,335
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,321
02/09/2565 10:27 น. , อ่าน 6,115 ครั้ง
Bookmark and Share
Wheatstone bridge circuit
โดย : Admin

วงจรบริดจ์แบบวีตสโตน คืออะไร ?

 

วงจรบริดจ์กระแสตรง(DC Bridge) เป็นวงจรโครงข่ายชนิดหนึ่ง ที่มีลักษณะเฉพาะตัว ใช้สาหรับการวัดค่า
ความต้านทานที่ไม่ทราบค่า โดยใช้หลักการเปรียบเทียบค่าความต้านทาน (R) ที่ทราบค่าแล้ว กับค่า R ที่ต้องการทราบค่า โดยใช้สภาวะสมดุลของวงจรบริดจ์เป็นตัวบอกค่าที่ต้องการทราบ นอกจากนี้ยังมี

สำหรับวงจรบริดจ์กระแสตรงประเภทที่ใช้ในปัจจุบัน เรียกว่า วีทสโตนบริดจ์ ( Wheatstone Bridge )  ผู้ค้นพบความสัมพันธ์นี้คือ Sir Charles Wheatstone (1843) ซึ่งเป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ


ตัวอย่างการนำวงจรวีทสโตนบริดจ์ ( Wheatstone Bridge ) ไปประยุกต์ใช้งานกับโหลดเซล



โครงสร้างของ  Wheatstone Bridge 

รูปแสดงตัวอย่างวงจรของวีทสโตนบริดจ์



วงจรภายในเครื่องวัดชนิดนี้ ประกอบด้วยดังนี้

1. ตัวต้านทานที่ต่อขนานกัน 2 สาขา แต่ละสาขาประกอบตัวต้านทาน 2 ตัวต่ออนุกรมกัน

2.แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (E) หรือแปล่งจ่ายไฟดีซี ซึ่งต่อขนานกับตัวต้านทานของวงจรทําหน้าทีจ่ายกระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านตัวต้านทานในวงจร

3. กัลวานอมิเตอร์ (G) ซึ่งต่อกับขั้วสายที่ขนานกันทําหน้าที่ตรวจจับ(detect)กระแสไฟฟ้าเพื่อบ่งบอกสภาพของวงจร ในกรณีที่วงจรบริดจ์สมดุลเข็มจะชี้ที่ศูนย์ แต่ถ้าไม่สมดุลเข็มจะเบี่ยงเบน 

*** กัลวานอมิเตอร์ เป็นเครื่องวัดที่มีความไวต่อกระแสไฟฟ้าสูงใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้าจํานวนน้อยๆ (เป็นไมโครแอมป์) หรือบางครั้งใช้เป็นอุปกรณ์ตรวจจับกระแสไฟฟ้าเพือแสดงให้รู้ว่ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านวงจรหรือไม่

***   วงจรบริดจ์ไฟกระแสตรง ส่วนมากใช้ในการวัดหาค่าความต้านทาน วงจรบริดจ์แบบวีทสโตนบริดจ์เป็นวงจรที่นิยมใช้ เนื่องจากให้ความถูกต้องในการวัดได้สูงถึง 0.01  ถึง 1% ใช้วัดค่าความต้านทานระหว่าง 1โอห์มถึง 1 เมกกะโอห์ม
 

ชมคลิป อธิบายทฤษฏีของวีทสโตนบริดจ์ ........................................

 

ชนิดของ  Wheatstone Bridge

วงจรบริดจ์จะประกอบไปด้วยสองแบบคือ วงจรบริดจ์ที่อยู่้ในสภาวะสมดุล (Balanced Bridge Circuit) และไม่สมดุลย์ดังนี้

 



วงจรบริดจ์ในสภาวะสมดุล (Balanced Bridge Circuit) :ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current Circuit) วงจรที่นิยมใช้กันมากคือ วีทสโตนบริดจ์(Wheatsytone Bridge) ซึ่งจะใช้วิธีการปรับค่าความต้านทานปรับค่าได้
โดยวงจรบริดจ์จะประกอบด้วยค่าความต้านทาน 4 ค่า คือ R1, R2, R3 ซึ่งเป็นค่าความต้านที่มีค่าคงที่  และ RX
ซึ่งเป็นค่าความต้านทานที่ไม่ทราบค่า

การปรับค่าความต้านทานในวงจรบริดจ์จะปรับที่ความต้านทาน R3 โดยปรับจนตำแหน่งของเข็มกัลป์วานอร์มิเตอร์ ชี้ค่าที่ตำแหน่งศูนย์ในสภาวะอย่างนี้เรียกว่า สภาวะวงจรบริดจ์สมดุล (Balance Bridge Circuit) เนื่องจากจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านกัลป์วานอร์มิเตอร์ (IG = 0) และค่าแรงดันระหว่างจุด A และ B จะมีค่าเท่ากันนั่นคือ VA = VB
 

 

วงจรบริดจ์ในสภาวะไม่สมดุล (Unbalanced Bridge Circuit)

ในสภาวะวงบริดจ์ไม่สมดุลเกิดจากอัตราส่วนของค่าความต้านทานในวงจรบริดจ์ไม่เท่ากันนั่นคือ R1R2 ≠ RxR3 ทำให้ค่าแรงดันตกคร่อมความต้านทานในวงจรบริดจ์ไม่เท่ากันด้วย คือ VR1 ≠ VRX และ VR2 ≠ VR3 ส่งผลให้ค่าความต่างศักย์ที่จุด A และ B มีค่าไม่เท่ากับศูนย์ คือ VAB ≠ 0 จึงทำให้มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านกัลป์วานอมิเตอร์ (IG) เข็มของกัลป์วานอมิเตอร์จะชี้และเบี่ยงเบนตามปริมาณกระแสที่ไหลผ่านสภาวะอย่างนี้เรียกว่า สภาวะวงบริดจ์ไม่สมดุล (Unbalanced Bridge Circuit)

 


ตัวอย่างของโหลดเซล Load Cell ชนิดต่างๆ ที่นำเอาหลักการของวงจร วงจรบริดจ์แบบวีตสโตน ไปประยุกต์ใช้งานจริงในอุตสาหกรรม

========================================================

 

 

 

30 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD