Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,371
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,632
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,953
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,918
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,381
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,430
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,416
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,774
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,818
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,276
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,170
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,387
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,840
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,598
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,622
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,466
17 Industrial Provision co., ltd 40,547
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,188
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,127
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,457
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,366
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,710
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,139
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,932
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,359
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,382
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,759
28 AVERA CO., LTD. 23,489
29 เลิศบุศย์ 22,461
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,235
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,111
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,790
33 แมชชีนเทค 20,717
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,955
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,944
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,726
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,366
38 SAMWHA THAILAND 19,233
39 วอยก้า จำกัด 18,966
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,436
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,257
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,170
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,125
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,118
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,010
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,995
47 Systems integrator 17,549
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,531
49 Advanced Technology Equipment 17,335
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,321
01/04/2564 06:20 น. , อ่าน 3,813 ครั้ง
Bookmark and Share
Can a 380V motor run on 440V power supply?
โดย : Admin

แปลและเรียบเรียงโดย : สุชิน เสือช้อย (แอดมิน)


Q: มอเตอร์  380 โวลท์ สามารถต่อใช้งานกับแหล่งจ่าย 440 โวลท์ ได้หรือไม่ ?

 

A:  จากคำถามดังกล่าว ต้องตอบว่าสามารถทำได้ 
 
การใช้มอเตอร์ 380V กับแหล่งจ่ายไฟฟ้าที่มีแรงดัน 440V  จะทำให้มอเตอร์จะได้รับแรงดันเพิ่มขึ้นประมาณ 15.7 %   ซึ่งก็จะทำให้เกิดปัญหาหรือผลที่ตามมาบางประการดังนี้:

1. ถ้าเป็นมอเตอร์ขนาดใหญ่ๆ จะทำให้ Voltage drop เพิ่มขึ้น หรือเกิดไฟตกในขณะออกตัวหรือช่วงขณะเริ่มสตาร์ทมอเตอร์ ซึ่งก็อาจทำให้เกิดหลอดไฟกระพริบ
2. ทอร์คหรือแรงบิดเริ่มต้น (starting torque ) และแรงบิดสูงสุด (maximum torque ) จะเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลทำให้คัปปลิ้ง (Coupling) ที่ต่อระหว่างมอเตอร์กับโหลดที่ขับเคลื่อนเกิดการเสียหายได้
3. กระแสเริ่มต้นจะสูงขึ้น หรือกระแสขณะสตาร์ท (Starting currents)  จะสูงกว่าปกติ
4. กระแสมอเตอร์ที่เพิ่มขึ้น กรณีที่ใช้กำลัง (Power) เท่าๆกัน จะทำให้เกิดความร้อนเกิน (over-heating)
5.ความร้อนเกิน (over-heating) จะส่งผลต่ออายุการใช้งานของฉนวนขดลวด
6. ทำให้เกิด เพาเวอร์แฟคเตอร์ (power factor) ตัวประกอบกำลังจะต่ำ

 

 

ผลกระทบหรือการสูญเสียซึ่งเกิดจากความล้มเหลวของมอเตอร์ก่อนวัยอันควรนั้นถือว่าเป็นอะไรที่ค่อนข้างร้ายแรง   ราคาของมอเตอร์นั้นถือว่าเทียบไม่ได้กับการที่กระบวนการผลิตที่ต้องหยุดชงัก ที่ไม่สามารถส่งมอบสินค้าได้ตามเวลา

ดังนั้นไม่ว่าจะกรณีแรงดันไฟฟ้าสูงและต่ำเกิดไป(high and low voltage) อาจทำให้มอเตอร์เสียหายก่อนกำหนด เฉกเช่นเดียวกับการเกิดความไม่สมดุลของแรงดันไฟฟ้า (voltage imbalance)   สำหรับบทความนี้จะเป็นเพียงการอธิบายถึงผลกระทบที่เกิดจากแรงดันไฟฟ้าเกินพิกัดเท่านั้น ดังนั้นการต่อใช้มอเตอร์อื่นๆที่มีแรงดันที่แตกต่างจากที่ระบุบนแผ่นป้าย name plate  จึงเป็นอะไรที่ต้องควรระมัดระวัง


การระบายความร้อนช่วยได้หรือไม่?

สิ่งหนึ่งที่ควรคำนึงถึงคือการระบายความร้อน มอเตอร์จะถูกกำหนดให้ใช้งานในสภาพแวดล้อมที่มีอากาศไหลเวียนอิสระโดยรอบ  ซึ่งหากสามารถเพิ่มการไหลเวียนของอากาศที่บริเวณโรเตอร์ หรือดึงความร้อนออกจากแกนเหล็กได้มากเท่าไหร่ ก็จะสามารถใช้งานมอเตอร์ได้โดยเกิดผลกระทบที่น้อยกว่า

 

========================================================

 

 

 

30 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD