e-Industrial Technology Center
About us
|
Guest Book
|
Contact us
|
Advertise
Send Your Friends
Set As Homepage
Bookmark
Home
Member
News
Articles
E-Industry Directory
Knowledge Center
Engineering Dictionary
Jobs
Webboard
Poll
Industrial news
PR, Events, Seminar & Training
Techno. & Innovation.
Energy News
Product Highlight
FunnyTech.
Engineering Video
Electrical Power
Automation & Control
Motor Control & Drives
Electronics & Telecom
Industrial (cnc,cad/cam/cae)
Mechanical
Petrochemical,Oil & Gas
Civil & Architect
Logistic engineering
Nice to Know
Others
English Articles
Fundamental
E-learning
Engineering Reference
Job Search
Resume Search
Search
- - - - - - - - - เลือกหมวดหมู่ - - - - - - - - -
Webboard
Top 50 Popular Supplier
1
100,000D_อินเวอร์เตอร์
177,404
2
100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า
174,653
3
100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์
173,993
4
100,000D_เครื่องมือช่าง
173,940
5
100,000D_เอซีมอเตอร์
171,401
6
100,000D_ดีซีมอเตอร์
170,450
7
100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง
169,444
8
100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร
168,799
9
เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย
161,879
10
100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน
159,298
11
100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง
159,185
12
100,000D_ขายของเล่นเด็ก
158,402
13
E&L INTERNATIONAL CO., LTD.
68,864
14
T.N. METAL WORKS Co., Ltd.
63,615
15
ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด
51,644
16
บ.ไทนามิคส์ จำกัด
44,485
17
Industrial Provision co., ltd
40,569
18
ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด
39,207
19
Infinity Engineering System Co.,Ltd
37,146
20
สยาม เอลมาเทค (siam elmatech)
35,474
21
ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด
34,385
22
ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย
32,726
23
เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด
32,155
24
บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด
31,954
25
โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด
28,377
26
ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง
27,399
27
P.D.S. Automation co.,ltd
23,776
28
AVERA CO., LTD.
23,503
29
เลิศบุศย์
22,478
30
ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป
21,263
31
เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง
21,124
32
Electronics Source Co.,Ltd.
20,815
33
แมชชีนเทค
20,749
34
อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด
19,970
35
มากิโน (ประเทศไทย)
19,963
36
ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด
19,741
37
Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd.
19,384
38
SAMWHA THAILAND
19,254
39
วอยก้า จำกัด
19,005
40
CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD.
18,457
41
IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD.
18,276
42
เอส.เอส.บี สยาม จำกัด
18,187
43
ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง
18,147
44
I-Mechanics Co.,Ltd.
18,144
45
ศรีทองเนมเพลท จำกัด
18,027
46
Intelligent Mechantronics System (Thailand)
18,010
47
Systems integrator
17,569
48
เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด
17,546
49
Advanced Technology Equipment
17,356
50
ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด
17,338
»
Article
»
Automation & Control
29/02/2563 07:49 น. , อ่าน 6,782 ครั้ง
freewheeling diode
โดย : Admin
ไขข้อข้องใจ...ไดโอดที่ใส่ขนานกับคอยล์รีเลย์มีไว้เพื่ออะไร
Relay
หรือ
รีเลย์
จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนหลัก คือ ขดลวด หรือคอยล์ (Coil) กับ หน้าสัมผัส หรือ Contact เมื่อต้องการให้รีเลย์ทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้ขดลวดรีเลย์ และเมื่อจะให้รีเลย์หยุดทำงานก็เพียงหยุดจ่ายไฟให้กับขดลวดรีเลย์ และส่วนมากจะมีการจ่ายไฟให้กับคอยล์รีเลย์โดยผ่านหน้าสัมผัสที่ใช้ในการตัดต่อ ไม่ว่าจะเป็นหน้าสัมผัสของสวิตซ์ปุ่มกด (Push Button Switch) สวิตซ์เลือก (Selector Switch) หรือแม้กระทั่งใช้หน้าสัมผัสของรีเลย์ตัวอื่นเป็นตัว
ตัดต่อกระแสจ่ายเข้าคอยล์ ดังรูปที่ 1
วงจรรีเลย์ ประกอบไปด้วย แหล่งจ่ายไฟ หน้าสัมผัสหรือสวิตซ์ตัดต่อ และคอยล์หรือขดลวดของรีเลย์
จากรูปด้านล่างนี้เมื่อจ่ายไฟเข้าขดลวด กระแสไฟฟ้าก็จะไหลผ่านขดลวด
แล้วสร้างสนามแม่เหล็กขึ้น
รูปที่
1
วงจรรีเลย์เมื่อจ่ายไฟเข้าคอยล์หรือขดลวดของรีเลย์
เนื่องจากคอยล์ของรีเลย์มีส่วนประกอบเป็นขดลวดไฟฟ้าพันอยู่รอบแกนเหล็ก ซึ่งจะมีคุณสมบัติคือ เมื่อถูกจ่ายไฟเข้าขดลวด ขดลวดจะสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นมา แต่เมื่อหยุดจ่ายไฟเข้าคอยล์สนามแม่เหล็กจะยุบตัวอย่างรวดเร็วและสร้างแรงดันไฟฟ้าขึ้นแทนทำให้มีกระแสไฟฟ้าย้อนกลับออกมา โดยจะมีขั้วตรงข้ามกับแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายเข้าคอยล์ แรงดันตัวนี้เรียกว่า
แรงดันไฟฟ้าต้านกลับของขดลวด
หรือ
Coil back EMF
ซึ่งแรงดันไฟฟ้าต้านกลับที่สร้างขึ้นมานี้ จะไปเสริมกับแรงดันไฟฟ้าของแหล่งจ่ายทำให้ทำให้มีแรงดันเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของแหล่งจ่าย จึงทำให้เกิดการอาร์คที่รุนแรงยิ่งขึ้นที่หน้าสัมผัสขณะเปิดวงจรออก ทำให้หน้าสัมผัสเสียหายเร็วขึ้น และอายุการใช้งานสั้นลงมาก (ดูรูปที่ 2)
รูปที่
2
วงจรรีเลย์เมื่อหน้าสัมผัสเปิดวงจร ทำให้เกิดการอาร์คที่หน้าสัมผัส
จากรูปด้านล่างนี้ พอหน้าสัมผัสเปิดวงจรเพื่อตัดการจ่ายไฟเข้าขดลวด สนามแม่เหล็กจะยุบตัวอย่างรวดเร็วและสร้างแรงดันไฟฟ้าขึ้นที่คอยล์รีเลย์ ทำให้มีกระแสไฟฟ้าย้อนกลับออกมา และจะไปเสริมกับแรงดันฟ้าของแหล่งจ่ายทำให้ทำให้มีแรงดันเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าของแหล่งจ่าย จึงทำให้เกิดการอาร์คที่รุนแรงยิ่งขึ้นที่หน้าสัมผัส ทำให้หน้าสัมผัสเสียหายเร็วขึ้น
แต่เมื่อเราต่อไดโอด หรือ diode คร่อมกับขดลวดหรือคอยล์ของรีเลย์ไว้ เมื่อเกิดแรงดันไฟฟ้าต้านกลับหรือ Back EMF ขึ้น ก็จะทำให้เกิดกระแสไหลวนผ่านไดโอดแทน แทนที่จะไปเพิ่มความรุนแรงในการอาร์คให้หน้าสัมผัสเสียหาย ดังรูปด้านล่างนี้
รูปที่
3
วงจรรีเลย์เมื่อหน้าสัมผัสเปิดวงจร และมีไดโอด (diode) ต่อคร่อมอยู่
สรุปแล้วการต่อไดโอดคร่อมคอยล์รีเลย์ลังกล่าวเป็น
วงจรป้องกันหน้าสัมผัสรีเลย์
ชนิดหนึ่ง หรือเรียกว่าวงจร
Snubber Circuit
นั่นเอง และวงจรนี้ก็จะใช้กับไฟ DC เท่านั้น ไม่สามารถใช้กับไฟ AC ได้ครับ
เตรียมพร้อมสำหรับ โลกที่กำลังจะก้าวเข้าสู่ยุคที่หุ่นยนต์จะเข้ามาทำงานแทนมนุษย์แบบเต็มตัวในอีกไม่ช้า
Cr: เพจ
คลังความรู้ วิชาชีพไฟฟ้า
========================================================
TBAT คืออะไร ?
Congratulations
สอบ ACT
Happy Birthday
สอบ IELTS มีกี่แบบ?
================= ยูทุปของ 9engineer ,com ===================
คลิปที่น่าสนใจจัดทำโดย 9engineer.com ภายใต้ชื่อช่องTechnology talk Channel
1. วงจรและวิธีการสตาร์ทแบบไดเร็คออนไลน์ DOL
2. วงจรควรคุมการกลับทางหมุน
3. วงจรและวิธีการสตาร์ทแบบสตาร์ เดลต้า Y-D Starter
4. การสตาร์แบบออโตทรานส์ฟอร์เมอร์ Auto transformer starter
5. การต่อขดลวดมอเตอร์ อย่างไรไม่ให้เกิดการใหม้หรือเสียหาย
6. การเช็ตโอเวอร์โหลดรีเลย์
7.การเช็ตโอเวอร์โหลดรีเลย์กับมอเตอร์ที่มีเซอร์วิสแฟคเตอร์
8.รีเลย์กับคนแทคเตอร์ต่างกันอย่างไร
9.อื่นๆ
**** นายเอ็นจิเนียร์ขอสงวนสิทธิ์รับรองความถูกต้อง โปรดใช้วิจารณญาณในการรับข่าวสารข้อมูล
ความคิดเห็น
9 May 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
ลงทะเบียนใหม่
|
ลืมรหัสผ่าน?
:: OUR SPONSORS