Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 177,372
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,633
3 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,953
4 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,919
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 171,383
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 170,432
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 169,418
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,775
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 161,818
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 159,277
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 159,171
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 158,388
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,840
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 63,600
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,623
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 44,468
17 Industrial Provision co., ltd 40,549
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 39,189
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 37,130
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 35,459
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 34,367
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,711
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 32,140
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,933
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 28,360
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 27,383
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,760
28 AVERA CO., LTD. 23,490
29 เลิศบุศย์ 22,462
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 21,236
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 21,112
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,791
33 แมชชีนเทค 20,718
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,958
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,945
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,726
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 19,367
38 SAMWHA THAILAND 19,234
39 วอยก้า จำกัด 18,966
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 18,438
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 18,258
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 18,171
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 18,127
44 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 18,118
45 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 18,011
46 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,996
47 Systems integrator 17,550
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,532
49 Advanced Technology Equipment 17,335
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 17,322
11/04/2557 17:47 น. , อ่าน 10,408 ครั้ง
Bookmark and Share
ข้อจำกัด Detuned/Tuned/Passive filter สำหรับการแก้ปัญหาเพาเวอร์แฟคเตอร์และฮาร์มอนิก
โดย : Admin

ข้อจำกัด Detuned/Tuned/Passive filter สำหรับการแก้ปัญหาเพาเวอร์แฟคเตอร์และฮาร์มอนิก


ตอนที่ 1 จะแก้ฮาร์มอนิกแต่ได้ PF. Leading แถมมาด้วย

 

การแก้ปัญหาคุณภาพกำลังไฟฟ้าในปัจจุบันเป้าหมายส่วนใหญ่ได้แก่การปรับปรุง ค่า Power Factor (PF.) ให้มีค่าสูงกว่า 0.85 เพื่อกำจัดค่าปรับ PF. จากการไฟฟ้า ซึ่งโดยส่วนใหญ่ก็จะคิดถึง Cap Bank หรือในกรณีที่ระบบไฟฟ้ามีกระแสฮาร์มอนิกจนมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดปัญหา เรโซแนนซ์ก็จะติดตั้ง Detuned Filter เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าวข้อดีประการหนึ่งของการติดตั้งใช้งาน Detuned Filter ก็คือปริมาณกระแสฮาร์มอนิกในลำดับที่ 5 (กรณีใช้ Reactor 6% หรือ 7%) เป็นต้นไปจะสามารถถูกทำให้ลดลงประมาณ 50% ได้ โดยถ้าต้องการให้ปริมาณกระแสฮาร์มอนิกถูกกำจัดมากกว่าที่ Detuned Filter ทำได้ก็จะพิจารณาเป็น Tuned Filter หรือ Passive Filter แทน



อย่างไรก็ตามต้องทำความเข้าใจเบื้องต้นก่อนว่าการใส่รีแอคเตอร์อนุกรมเข้าไป กับคาปาซิเตอร์เพื่อกำหนดความถี่เรโซแนนซ์ให้อยู่ในช่วงออเดอร์ 3.78 (รีแอคเตอร์ 7%) หรือออเดอร์ 4.08 (รีแอคเตอร์ 6%) สำหรับ Detuned filter และกรณี Tuned/Passive filter ในที่นี้จะยกตัวอย่างเป็น Tuned filter ที่ออเดอร์ 5 โดยใช้รีแอคเตอร์ 4% นั้น แน่นอนว่าที่ใกล้เคียงความถี่เรโซแนนซ์ดังกล่าว เฟสหรือมุมตลอดจนค่าอิมพีแดนซ์ที่ปรากฏที่แหล่งจ่ายจะมีค่าใกล้เคียง 0 องศาและ 0 โอห์มตามลำดับ แต่อย่าลืมว่าค่าอิมพีแดนซ์ของวงจรเรโซแนนซ์ดังกล่าวที่ความถี่ต่ำกว่าความ ถี่เรโซแนนซ์นี้นั้นจะไม่ใช่ 0 โอห์มและ 0 องศาอย่างแน่นอน ที่ความถี่ 50Hz ซึ่งต่ำกว่าความถี่เรโซแนนซ์นั้น Capacitive reactance (XC) ของคาปาซิเตอร์จะมีค่ามากกว่า Inductive reactor ของวงจรซึ่งจะทำให้เกิดผลตามมาคือค่า XC นี้จะทำให้เกิดกระแส Leading ซึ่งสามารถนำไปหักล้างกับกระแส Lagging ของโหลดได้อันเป็นผลให้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ของระบบดีขึ้นได้ รูปที่ 1 แสดงวงจรสมมูลย์ของการติดตั้ง Tuned filter ออเดอร์ 5 พิกัด 100kvar เข้ากับหม้อแปลง 22/0.4kV 2,500kVA รูปที่ 2 แสดง Frequency respond ของอิมพีแดนซ์และมุมปรากฏที่แหล่งจ่าย



ปรากฏการณ์หรือคุณสมบัติข้อนี้จะเป็นประโยชน์มากในกรณีที่โหลดของระบบมี ปัญหาทั้งค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ต่ำและกระแสฮาร์มอนิกพร้อมๆกัน และยิ่งค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ของโหลดมีค่าต่ำเท่าไหร่ยิ่งเป็นผลดีต่อการออก แบบและเลือกพิกัดอุปกรณ์มาทำการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น แต่อย่างไรก็ตามในปัจจุบันมีโหลดที่สร้างปริมาณกระแสฮาร์มอนิกออกมาในปริมาณ มากในขณะที่ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์มีค่าสูง โดยอาจมีค่าสูงถึง 0.95 ในขณะที่มีค่า THDi สูงเกือบ 30% ในขณะเดียวกัน เช่น AC inverter ที่มีการติดตั้ง AC line reactor หรือแหล่งจ่ายไฟแบบสวิตชื่งที่มีการติดตั้ง EMI filter โดยใช้ค่า Capacitor ขนาดใหญ่ ในกรณีนี้การออกแบบ Tuned/Passive filter จะทำได้ลำบากหรือบางกรณีเป็นไปไม่ได้เลย เนื่องจากวงจรเรโซแนนซ์ที่ติดตั้งเพิ่มมานี้นอกจากจะกำจัดกระแสฮาร์มอนิกที่ ความถี่ที่ออกแบบแล้วยังจะฉีด Capacitive reactive power ที่ความถี่ 50Hz เข้าไปในระบบพร้อมกันด้วย ซึ่งในหลายๆกรณีก็จะทำให้ค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ของระบบนำหน้าหรือ Leading เกิดขึ้นได้ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราไม่ต้องการให้เกิดขึ้นกับระบบไฟฟ้าเช่นกัน

 

รูป ที่ 1 ตังอย่างวงจรสมมูลย์ของการติดตั้ง Tuned filter 1 ที่ออเดอร์ 5 เข้ากับหม้อแปลง พิกัด 2,500kVA 22/0.4kV โดยใช้คาปาซิเตอร์ 100kvar ร่วมกับ Reactor 4%

 
รูปที่ 2 (รูปบน) กราฟสีน้ำเงินอิมพีแดนซ์ของระบบปรากฏที่แหล่งจ่าย (รูปล่าง) กราฟสีแดงแสดงมุมของอิมพีแดนซ์ของระบบปรากฏที่แหล่งจ่าย

 

ดังนั้นในกรณีที่ต้องการกำจัดกระแสฮาร์มอนิกสำหรับโหลดที่มีค่าเพาเวร์ แฟคเตอร์สูงนั้น อาจจำเป็นต้องพิจารณาใช้อุปกรณ์ Active Power Filter เพื่อกำจัดกระแสฮาร์มอนิกโดยไม่สร้างกำลังงานรีแอคทีฟส่วนเกินที่จะทำให้ค่า เพาเวอร์แฟคเตอร์รวมของทั้งระบบเป็น Leading PF.

 

 

สนับสนุนเนื้อหาโดย : https://pq-team.com/

========================================================

 

 

 

30 April 2025
:: MEMBER LOGIN
E-mail Account
Password
:: OUR SPONSORS
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD
LZD