Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,053
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,634
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,032
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,845
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,516
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,598
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,551
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,848
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,420
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,492
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,404
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,555
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,667
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,192
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,615
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,596
17 Industrial Provision co., ltd 39,269
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,414
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,347
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,668
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,511
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,905
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,269
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,012
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,636
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,560
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,996
28 AVERA CO., LTD. 22,622
29 เลิศบุศย์ 21,722
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,450
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,294
32 แมชชีนเทค 19,934
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,909
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,234
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,190
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,837
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,645
38 SAMWHA THAILAND 18,349
39 วอยก้า จำกัด 17,952
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,523
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,381
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,356
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,291
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,265
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,173
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,133
47 Systems integrator 16,749
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,683
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,509
50 Advanced Technology Equipment 16,495
08/09/2549 20:14 น. , อ่าน 6,052 ครั้ง
Bookmark and Share
High speed แท้ไม่แท้
a
08/09/2549
20:14 น.
อะไรคือตัวบอก ว่า เป็น High speed ครับ <br>ขอ ความรู้ ด้วยครับ เห็น คุยกัน จัง
ความคิดเห็นทั้งหมด 22 รายการ | «    1  2
ความคิดเห็นที่ 16
a
12/09/2549
19:04 น.
ทฤษฎี หลักๆ ของhigh speed มาจาก ไหน บ้าง ครับ พี่ สืบ
ความคิดเห็นที่ 17
สืบศักดิ์
13/09/2549
14:18 น.
ทฤษฎี หลักๆ ของhigh speed ที่ถามนี้ผมไม่แน่ใจ ว่าหมายถึงแนวไหน แต่นี่เป็นความเห็นส่วนตัวที่อาจจะถูกหรือไม่ถูกก็ได้ (ท่านอื่นๆให้ความเห็นต่อได้นะครับ) <br><br>เท่าที่จำได้เรื่อง high speed นั้น เริ่มจากการพัฒนาการของ การขจัดปัญหาเรื่องเวลาที่ใช้ใน ขบวนการผลิตแม่พิมพ์ โดยมีการตั้งธงไว้ว่า จะทำอย่างไรเพื่อลดเวลาในการทำแม่พิมพ์ลง โดยคำนึงถึงต้นทุนของเวลา เข้าไปในต้นทุนสินค้าด้วย <br><br>ซึ่งสมัยก่อนโรงงานเถ้าแก่คนเดียว มักไม่คำนึงถึงเท่าใด เนื่องจากคิดว่าค่าแรงต่ำ คู่แข่งน้อย แต่ในต่างประเทศ เขาคิดล่วงหน้าไปแล้ว และเมื่อเริ่มมีการแข่งขันทางการค้า จึงเริ่มรู้ว่า หากผลิตสินค้าได้เร็วขึ้น นั่นหมายถึงกำไรอย่างอื่นที่ตามมา ซึ่งเป็นกำไรทางอ้อม เช่น ดอกเบี้ย OD หายไป 1 วัน ส่งงานเร็วขึ้น ทำให้วางบิลได้ ไม่ต้องรอวางบิลเดือนหน้า สามารถรับงานได้มากขึ้น ฯลฯ จึงเริ่มมีการคำนึงถึงต้นทุนเวลา และทำอย่างไรจะให้งานเสร็จเร็ว <br> <br>ในช่วงแรกๆนั้น ดอกกัดได้พัฒนาไปก่อนหน้าแล้ว ซึ่งกว่า 20 ปีแล้วที่มีเริ่มมีดอกกัดทำจากวัสดุทังสเตนคาร์ไบด์ ทำให้ค่าความเร็วตัด Vc เปลี่ยนจาก 25 - 35 ไปเป็น 40 - 60 เร็วขึ้นกว่าเท่าตัว หลังจากนั้นจึงมีการพัฒนาขบวนการเคลือบผิว ต่างๆจนพัฒนามาอย่างที่เห็น (อธิบายไว้ข้างบนแล้ว) <br>เมื่อดอกกัด ต้องการความเร็วเพิ่มขึ้น ก็ต้องมีอุปกรณ์ หรือ รอบของเครื่องต้องเพิ่มตาม จึงมีการผลิต หัวจับแบบเพิ่มรอบได้ และเลยไปจนถึงมีการพัฒนามอเตอร์ของคอเครื่อง <br><br>ด้วยเหตุปัจจัยหนึ่ง ของการทำแม่พิมพ์ คือ ต้องใช้ขบวนการสปาร์ค ซึ่งเป็นขั้นตอนที่นานมาก ดังนั้นเขาเหล่านั้นจึงพยายามหา ว่าจะลดขั้นตอนอย่างไร โจทย์ มันจึงไปตอบลงที่ การพัฒนาให้เป็น High Speed เพราะเขาเหล่านั้นรู้ดีว่า หากวัดอัตราการขจัดเศษ (Removeable Rate) เครื่องกลึงทำได้ดีกว่าเครื่องมิลลิ่ง มาตั้งแต่เริ่มแล้ว (ดึกดำบรรพ์ ไง) <br><br>เขาจึงต้องพัฒนา High Speed ในงานมิลลิ่ง และเมื่อเริ่มวิจัย ทดสอบ เขาเลยได้พบ คำตอบของโจทย์อีกหลายข้อ ที่มาจากขบวนการชุบแข็ง เช่น ค่าความไม่สเถียรของเหล็กที่ผ่านการชุบแข็ง (บริเวณชั้นผิวงานด้านบน/นอก) การหดตัว บิดตัว <br>และ เวลาที่เทียบกับการสปาร์ค ที่ High Speed ดีกว่า <br>ส่วนทฤษฎี นั้น เฉพาะตัว High Speed ไม่ทราบ แต่อาจพิจารณาแยกในการพัฒนาของแต่ละส่วน เช่น <br><br>1. การผลิต Spindle Motor จำเป็นต้องพึ่ง ตลับลูกปืน ที่ทนความร้อน มีความเที่ยงตรงสูง มีระบบการป้องกันการยึดตัวของโลหะ (ที่เรียกว่า ค่าสัมปะสิทธิการขยายตัว ซึ่งมีในโลหะเกือบทุกชนิด) ความละเอียดในการผลิตชิ้นส่วน ความสะอาดในการประกอบ ฯลฯ <br>2. วัสดุที่ใช้ทำดอกกัด จำเป็นต้องมีค่าความเหนียวสูง ทนทานต่ออุณหภูมิ ตอนที่มีการขึ้นคม (เจียร) ทนต่อการเสียดสี ทนความร้อนสูง <br>3. วัสดุ/สารที่เคลือบผิวดอกกัด ต้องลดแรงเสียดทางได้ดี ทนความร้อน ทนการเสียดสี ต้องไม่หนามากเกินไป (ไม่ควรเกิน 5 ไมครอน) <br>4. การพัฒนาระบบขับเคลื่อน และอื่นๆ (กลับไปอ่านด้านบน) <br><br>สรุปว่า ทฤษฎี หลักๆ ของhigh speed ตามที่ถามนั้น ในความคิดผมคิดว่าไม่มีในขณะเริ่มต้น แต่มันเกิดหลังจากมีแนวความคิดในการแก้ปัญหาและสร้างตลาดตามด้านบนเกิดขึ้น <br>จากนั้นจึงมีการนำมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง ในแต่ละเรื่องมาปรับใช้ เพราะจำเป็นต้องพึง มาตรฐานทางด้านมิติ หลายเรื่อง เพื่อผลิตชิ้นส่วนที่ละเอียด เที่ยงตรงสูง <br>มาตรฐาน ทางด้านเคมี ความร้อน <br>และอื่นๆ ซึ่งมาตรฐานเหล่านั้น ก็จะมีทฤษฎี และที่มาแตกต่างกันออกไปอีก <br><br>สุดท้ายแล้ว งง เปล่า ?
ความคิดเห็นที่ 18
a
14/09/2549
11:29 น.
ขอคุณ ครับพี่ สืบ แต่ ที่ผม ถาม คือ เช่น<br>high speed พัฒนามาจาก หลักการอะไร แนว ไหน ใคร เป็น ผู้เริ่มต้น แบบ E = mc2 ของ Einstein น่ะ ครับ พี่สืบ <br>รบกวน ด้วย ครับ ทุกท่าน
ความคิดเห็นที่ 19
สืบศักดิ์
14/09/2549
17:58 น.
ไม่เข้าใจครับ และไม่แน่ใจว่ามีข้อมูลหรือเปล่า <br><br>เพราะ มันเป็นหลักการที่เกิดจากการพัฒนา แล้วนำมาเรียก ไม่ใช่การสร้างสูตร คำนวณ เพราะการคำนวณสำหรับ งาน High Speed <br>อาจมีสูตรหนึ่ง คือ แรงจากการหนีศูนย์ ( un-balance material )<br>แต่ขอโทษไม่มีเอกสารในมือ เลยไม่มีสูตรให้ <br>และหากถามการพัฒนาจากใครเป็น ผู้เริ่มนั้น ผมไม่มีเวลาค้นให้ครับ <br>ขออภัยด้วย
ความคิดเห็นที่ 20
f1
15/09/2549
01:00 น.
ตอบได้ดีมากเลยครับพี่สืบ
ความคิดเห็นที่ 21
eigza
19/09/2549
15:35 น.
ขอบคุณ ทุกท่านมากมากครับ <br>especially พี่สืบ
ความคิดเห็นที่ 22
a
28/09/2549
15:44 น.
จบ แล้ว เหรอครับ งง จัง
ความคิดเห็นทั้งหมด 22 รายการ | «    1  2
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: