Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,003
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,595
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,000
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,805
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,474
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,568
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,523
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,834
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,368
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,461
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,376
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,523
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,607
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,151
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,541
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,566
17 Industrial Provision co., ltd 39,238
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,389
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,307
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,635
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,461
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,865
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,230
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,972
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,597
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,526
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,963
28 AVERA CO., LTD. 22,597
29 เลิศบุศย์ 21,698
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,399
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,261
32 แมชชีนเทค 19,905
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,880
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,196
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,151
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,810
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,613
38 SAMWHA THAILAND 18,307
39 วอยก้า จำกัด 17,913
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,490
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,344
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,314
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,254
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,229
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,146
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,082
47 Systems integrator 16,723
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,642
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,468
50 Advanced Technology Equipment 16,456
11/03/2546 07:54 น. , อ่าน 32,754 ครั้ง
Bookmark and Share
มอเตอร์ 1 เฟส แบบคาปาซิเตอร์
zum
11/03/2546
07:54 น.
ผมสงสัยว่า ทำไมมอเตอร์ 1 เฟส จึงต้องใช้คาปาซิเตอร์ <br>ไม่ใช้ได้หรือไม่ คาปาซิเตอร์ มีประโยชน์อย่างไร <br>การเลือกค่าคาปาซิเตอร์ที่เหมาะสม พิจารณาอย่างไร<br><br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 54 รายการ | «    1  2  3  4    »
ความคิดเห็นที่ 16
เด็กเทคนิค
19/03/2550
10:31 น.
ผมก็หาไม่เจอ
ความคิดเห็นที่ 17
ปรีชาครับ
18/07/2550
16:11 น.
ช่วยหาเว็บ วง จรการต่อ มอเตอร์แบบสามเฟสและแบบ1เฟสให้หน่อยคับ อยากต่อวงจรมอเตอร์เป็นครับขอบคุณครับใจดีจังเลบ<br>ช่วยตอบไปหาเมล์ผมด้วยนะครับ<br>ที่ <a href="mailto:preecha181@hotmail.com" Target="_BLANK">preecha181@hotmail.com</a>
ความคิดเห็นที่ 18
123
16/08/2550
13:19 น.
มอเตอร์เฟสเดียวส่วนมากเป็นขนาดเล็ก (กำลัง) มันเริ่มหมุนด้วยตัวเองไม่ได้ จึงต้องมีคาปา ที่จริงแล้วมีอีกหลายชนิดวิธี
ความคิดเห็นที่ 19
jaggo
20/08/2550
20:14 น.
จากที่รู้มา มันช่วยลดกระแสตอนที่เริ่มสตาทเพราะตอนเริ่มเครืองจะมีแรงบิดมากจึงลดกระแสลงเพื่อป้องกันวงจรควบคุมให้สามารถทนกำลังตอนเริ่มเดินเครื่อง
ความคิดเห็นที่ 20
เอนก
27/08/2550
11:08 น.
คุณ all motor ครับ ผมอยากได้รายละเอียดที่คุณแจ้งน่ะครับ พอดีผมทำโปรเจคอยู่น่ะครับ เป็น อินเวอร์เตอร์สามเฟส จะนำมาขับ capacitor motor น่ะครับ อย่างไร ก็เมลลมาก็ได้นะครับ <a href="mailto:anek44@hotmail.com" Target="_BLANK">anek44@hotmail.com</a>
ความคิดเห็นที่ 21
kob
04/01/2551
15:17 น.
มอเตอร์ 1hp เท่ากันแต่ทําไหมcap.ของไม่เท่ากัน
ความคิดเห็นที่ 22
123
04/04/2551
14:38 น.
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับคาปาซิสเตอร์มอเตอร์(Capacitor motor) <br> คาปาซิสเตอร์เตอร์เป็นมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ 1 เฟสที่มีลักษณะคล้ายสปลิทเฟสมอเตอร์มาก<br>ต่างกันตรงที่มีคาปาซิสเตอร์เพิ่มขึ้นมาทำให้มอเตอร์แบบนี้มีคุณสมบัติพิเศษกว่าสปลิทเฟสมอเตอร์<br>คือมีแรงบิดขณะสตาร์ทสูงใช้กระแสขณะสตาร์ทน้อยมอเตอร์ชนิดนี้มีขนาดตั้งแต่1/20 แรงม้าถึง10 แรงม้ามอเตอร์นี้นิยมใช้งานเกี่ยวกับ ปั๊มนํ้า เครื่องอัดลม ตู้แช่ ตู้เย็น ฯลฯ<br><br> ส่วนประกอบของคาปาซิสเตอร์มอเตอร์<br>โครงสร้างของคาปาซิเตอร์มอเตอร์ มีส่วนประกอบส่วนใหญ่เหมือนกับแบบสปลิทเฟส<br>เกือบทุกอย่าง คือ <br> 1. โรเตอร์เป็นแบบกรงกระรอก<br> 2. สเตเตอร์ประกอบด้วยขดลวด 2 ชุด คือ ชุดสตาร์ทและชุดรัน<br> 3. ฝาปิดหัวท้ายประกอบด้วย ปลอกทองเหลือง ( Bush )<br>หรือตลับลูกปืน ( Ball bearing )สำหรับรองรับเพลา<br> 4. คาพาซิสเตอร์หรือคอนเดนเซอร์ ( Capacitor or Condenser) <br><br> 1. โรเตอร์์เป็นแบบกรงกระรอก <br><br> 2. สเตเตอร์ประกอบด้วยขดลวด2 ชุด คือ ชุดสตาร์ทและชุดรัน <br><br> <br> 3. ฝาปิดหัวท้ายประกอบด้วย ปลอกทองเหลือง( Bush )<br>หรือตลับลูกปืน( Ball bearing ) สำหรับรองรับเพลา <br><br> 4. คาปาซิสเตอร์หรือคอนเดนเซอร์ ( Capacitor or Condenser)<br> ที่ใช้กับมอเตอร์แบบเฟสเดียวมี 3 ชนิดคือ<br>1. แบบกระดาษหรือPaper capasitor<br>2. แบบเติมนํ้ามันหรือ Oil -filled capasitor<br>3. แบบนํ้ายาไฟฟ้าหรือElectrolytic capasitor <br> <br><br>ชนิดของคาปาซิเตอร์มอเตอร์ <br><br> คาปาซิเตอร์มอเตอร์แบ่งออกเป็น 3 แบบคือ<br><br> 1.คาปาซิสเตอร์สตาร์ทมอเตอร์ ( Capacitor start motor )<br> 2..คาปาซิสเตอร์รันมอเตอร์ ( Capacitor run motor )<br> 3.คาปาซิสเตอร์สตาร์ทและรันมอเตอร์ ( Capacitor start and run motor ) <br><br>หลักการทำงานของคาปาซิเตอร์มอเตอร์ <br><br> ลักษณะโครงสร้างทั่วไปของคาปาซิสเตอร์สตาร์ทมอเตอร์เหมือนกับสปลิทเฟส แต่วงจรขดลวดสตาร์ท<br>พันด้วยขดลวดใหญ่ขึ้นกว่าสปลิทเฟส และพันจำนวนรอบมากขึ้นกว่าขดลวดชุดรัน แล้วต่อตัว<br>คาปาซิเตอร์ ( ชนิดอิเล็กโทรไลต์ ) อนุกรมเข้าในวงจรขดลวดสตาร์ท มีสวิตช์แรงเหวี่ยงหนีูุนย์กลาง<br>ตัดตัวคาปาซิสเตอร์และขดสตาร์ทออกจากวงจร <br><br>1.คาปาซิเตอร์สตาร์ทมอเตอร์ ( Capacitor start motor )<br> <br> การทำงานของคาพาซิเตอร์สตาร์ทมอเตอร์ เหมือนกับแบบสปลิทเฟสมอเตอร์แต่เนื่องด้วยขดลวด<br>ชุดสตาร์ทต่ออนุกรมกับคาปาซิเตอร์ ทำให้กระแสที่ไหลเข้าในขดลวดสตาร์ทถึงจุดสูงสุด<br>ก่อนขดลวดชุดรันจึงทำให้กระแสในขดลวดสตาร์ทนำหน้าขดลวดชุดรันซึ่งนำหน้ามากกว่า<br>แบบสปิทเฟสมอเตอร์ คาปาซิสเตอร์มอเตอร์จึงมีแรงบิดขณะสตาร์ทสูงมากสำหรับมอเตอร์<br>์ชนิดคาปาซิเตอร์สตาร์ทมอเตอร์หลังจากสตาร์ทแล้วมอเตอร์หมุนดด้วยความเร็วรอบถึง 75เปอร์เซ็นต์ของความเร็วสูงสุดสวิตช์แรงเหวี่ยงหนีจากศูนย์กลาง คาปาซิเตอร์จะถูกตัดจากวงจร<br>ดังแสดงรูปวงจรการทำงาน <br><br> <br>รูปที่3.1 แสดงการทำงานวงจรคาปาซิสเตอร์สตาร์ทมอเตอร์(คลิกดูขขนาดใหญ่) <br><br> 2.คาปาซิสเตอร์รันมอเตอร์ ( Capacitor run motor ) <br> ลักษณะโครงสร้างทั่วไปของคาพาซิสเตอร์รันมอเตอร์เหมือนกับชนิดคาพาซิเตอร์สตาร์ท <br>แต่ไม่มี สวิตช์แรงเหวี่ยง ตัวคาปาซิสเตอร์จะต่ออยู่ในวงจรตลอดเวลา ทำให้ค่าพาวเวอร์แฟคเตอร์ดีขึ้น และโดยที่คาปาซิสเตอร์ต้องต่อถาวรอยู่ขณะทำงานดังนั้นคาปาซิเตอร์ประเภทน้ำมัน<br>หรือกระดาษฉาบโลหะ<br> แต่สำหรับมอเตอร์ชนิดคาปาซิสเตอร์รัน คาปาซิเตอร์จะต่ออยู่นวงจรตลอดและเนื่องจากขดลวดชุด<br>สตาร์ทใช้งานตลอดเวลา การออกแบบจึงต้องให้กระแสผ่านขดลวดน้อยกว่าแบบคาปาซิสเตอร์สตาร์ท <br>โดยการลดค่าของคาพาซิสเตอร์ลง ดังนั้นแรงบิดจึงลดลงกว่าแบบคาพาซิสเตอร์สตาร์ทแต่ยังสูงกว่า<br>แบบสปลิทเฟสมอเตอร์<br><br> <br>รูปที่3.3 แสดงวงจรการทำงานคาปาซิสเตอร์รันมอเตอร ์(คลิดดูขนาดใหญ่) <br><br>3.คาปาซิสเตอร์สตาร์ทและรันมอเตอร์ ( Capacitor start and run motor ) ลักษณะโครงสร้างของคาปาซิสเตอร์สตาร์ทและรันมอเตอร์ชนิดนี้จะมีคาปาซิเตอร์2ตัว<br>คือคาปาซิสเตอร์สตาร์ทกับคาปาซิสเตอร์รัน คาปาซิสเตอร์สตาร์ทต่ออนุกรมอยู่กับสวิตช์แรงเหวี่ยง<br>หนีศูนย์กลางหรือเรียกว่าเซ็นติฟูกัลสวิตช์ ส่วนคาปาซิสเตอร์รันจะต่ออยู่กับวงจรตลอดเวลา <br>คาปาซิสเตอร์ทั้งสองจะต่อขนานกัน ซึ่งค่าของคาปาซิเตอร์ทั้ง สองนั้มีค่าแตกต่างกัน<br> มอเตอร์แบบคาปาซิสเตอร์สตาร์ทและรัน ได้มีการออกแบบมีแรงบิดขณะสตาร์ทสูงขึ้นโดย<br>คาพาซิสเตอร์รันต่อขนานกับคาปาซิสเตอร์สตาร์ทเมื่อมอเตอร์ไฟฟ้าหมุนไปได้ความเร็วรอบ 75เปอร์เซ็นต์ของความเร็วรอบสูงสุดส่วนคาปาซิสเตอร์รันต่ออยู่ในวงจรตลอดเวลา<br>จึงทำให้มอเตอร์ที่มีกำลังสตาร์ทสูงและกำลังหมุนดีด้วยดังแสดงรูปวงจรการทำงาน<br><br> <br>รูปที่3.4 แสดงวงจรการทำงานคาปาซิสเตอร์สตาร์ทและคาปาซิสเตอร์รัน (คลิกดูขนาดใหญ่) <br><br>TOP <br><br>การกลับทางหมุน <br><br> การกลับทางหมุนการกลับทางหมุนของคาปาซิสเตอร์มอเตอร์คือ กลับขดลวดขดใดขดหนึ่ง<br>ขดสตาร์ทหรือขดรันเช่นเดีวยกันกับสปลิทเฟสมอเตอร์ <br><br> <br>รูปที่3.5 แสดงการกลับทางหมุนของคาปาซิสเตอร์มอเตอร์ <br>
ความคิดเห็นที่ 23
123
04/04/2551
14:48 น.
1. การลดแรงดันขณะสตาร์ทแบบสตาร์เดลต้า <br><br>การสตาร์ทมอเตอร์ 3 เฟสที่มีขนาดใหญ่เกินกว่า 5 กิโลวัตต์นั้นไม่สามารถใช้วิธีการสตาร์ตรงได้<br>(Direc Staart) ได้ เนื่องจากกระแสสตาร์ทสูงมาก(ปกติค่ากระแสสตาร์ทสูงประมาณ 5 - 7 เท่า<br>ของค่ากระแสตามปกติของค่ากระแสตามปกติ ของค่าพิกัดมอเตอร์)จึงต้องการอาศัยเทคนิค<br>การสตาร์ทมอเตอร์ ที่สามารถลดกระแสขณะสตาร์ทมอเตอร์ได้มิฉะนั้นแล้วการสตาร์ทมอเตอร์ขนาดใหญ่<br>จะทำให้เกิดผลเสียแก่ ระบบไฟฟ้าหลายประการเช่น<br> 1.ทำให้เกิดไฟแสงสว่างวูบหรือกระพริบ<br> 2.ทำให้อุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้าตกทำงาน<br> 3.อาจเกิดโอเวอร์โหลดแก่ระบบจ่ายไฟเข้าโรงงาน เช่นหม้อแปลงไฟฟ้า<br> 4.อาจทำให้ฟิวส์แรงสูงที่ระบบจ่ายไฟฟ้าขาด<br> 5.กระทบต่อการทำงานของมอเตอร์ตัวอื่นๆในโรงานที่ทำงานในสภาวะโอเวอร์โหลด<br>อาจดับหรือหยุดทำงานได้เพราะไฟตก<br>ดังนั้นมอเตอร์ที่มีขนาดสูงกว่า 5 กิโลวัตต์ต้องใช้เทคนิคการสตาร์ทมอเตอร์แบบลดกระแสซึ่งมีอยู่ 3 วิธี<br> 1.การสตาร์ทแบบสตาร์-เดลต้า<br> 2.การสตาร์ทแบบลดกระแสแบบตัวต้านทาน <br> 3.การสตาร์ทโดยใช้หม้อแปลงลดแรงดัน<br>ในบทนี้จะกล่าวถึงเฉพาะการสตาร์ทแบบสตาร์-เดลต้าเท่านั้น<br> การสตาร์-เดลต้าหมายถึง ขณะสตาร์ทมอเตอร์เป็นแบบสตาร์และเมื่อมอเตอ์ืหมุนไปด้วยความเร็ว 75%ของความเร็วพิกัด มอเตอร์จะต้องหมุนแบบเดลต้า <br> <br> การสตาร์ทแบบสตาร์-เดลต้า สามารถทำได ้2 วิธี<br> 1.ใช้สตาร์-เดลต้าสวิตช์<br> 2. ใช้คอนแทคเตอร์<br><br> 2. การะสตาร์ทแบบสตาร์เดลต้า <br> <br><br>สตาร์-เดลต้า-สวิตช์เป็นสวิตช์ลักษณะของดรัม หรือ โรตารี่ แคมสวิตช์ คล้ายกับสวิตช์กลับทางหมุน<br>มอเตอร์แต่โครงสร้างต่อภายใน เปลี่ยนแปลงไปให้เหมาะสมกับหลักการสตาร์ทแบบนี้ รูปของโรตารี่ <br>แคมสวิตช์ทำหน้าที่เป็น สตาร์-เดลต้า <br><br>อุุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุม<br><br> 1.สวิตช์ปุ่มกดสีแดงปกติปิด 1 ตัว = S1<br>(Push Button switch N.C. ) <br><br> 2.สวิตช์ปุ่มกดสีเขียวปกตเิปิด 1 ตัว =S2<br>(Push Button switch N.O. ) <br><br><br> 4.คาร์ทริคฟิวส์ วงจรกำลัง 3 ตัว = F1 <br>(Power Fuse) <br><br> 5.คาร์ทริคฟิวส์วงจรควบคุม1 ตัว = F2 <br>(Controlr Fuse) <br><br> 6.โอเวอร์โหลดรีเลย์ 3 เพส2 ตัว=F3<br>(Thermal Over Load Relay 3 Phase ) <br><br> 7. แมคเนติคคอนแทคเตอร์2N.O. 2N.C. 3 ตัว= K1,K2,K3<br>(Magnetic contactor 3 phase ,2N.O. 2N.C. ) <br><br><br> 9.มอเตอร์ 3 เฟส=M1 ( 3 Phase Induction Motor) <br><br> ความหมายสัญญลักษณ์อักษรกำกับวงจร <br><br><br>สัญญลักษณ์ ความหมาย <br>S1 สวิตช์ปุ่มกดหยุดเดินมอเตอร์ (Push Button Stop) <br>S2 สวิตช์ปุ่มกดเดินมอเตอร์(Push Button Start) <br>F1 ฟิวส์ป้องกันวงจรกำลัง (Power Fuse) <br>F2 ฟิวส์ป้องกันวงจรควบคุม (Control Fuse) <br>F3 สว่นป้องกันมอเตอร์ทำงานเกินกำลัง (Overload Relay) <br>K1 แมคเนติคคอนแทคเตอร์ต่อไฟเข้ามอเตอร์ (Line Contactor) <br>K2 แมคเนติคคอนแทคเตอร์ต่อขดลวดมอเตอร์แบบสตาร์ (Star Contactor) <br>K3 แมคเนติคคอนแทคเตอร์ต่อขดลวดมอเตอร์แบบเดลต้า (Delta Contactor) <br>K4T รีเลย์หน่วงเวลา (Timer Delay Relay) <br>M1 มอเตอร์3เฟส ( 3 Phase Induction Motor) <br><br> 3.วงจรและหลักการทำงานของการสตาร์ทแบบสตาร์-เดลต้า<br><br> วงจรกำลัง(Power Circuit)<br><br>วงจรกำลังของการสตาร์ทมอเตอร์ <br> แบบสตาร์- เดลต้านั้นการสตาร์ท<br>จะต้องเรียงกัน ไปจากสตาร์ไปเดลต้า <br>และคอนแทคเตอร์สตาร์ <br> กับคอนแทคเตอร์เดลต้าจ ะต้องมี Interlock<br> ซึ่งกนและกัน การควบคุมมี 2 อย่างคือ <br> เปลี่ยนจากสตาร์ไปเดลต้าโดยการกด <br> Pushbutton <br> กับเปลี่ยนโดยอัตโนมัติด้วยการใช้<br> รีเลย์ตั้งเวลาการควบคุมแบบอัตโนมัติมี 2 วิธี<br> 1. ต่อจุดสตาร์ด้วย K2 ก่อนจ่ายไฟเข้า K1<br> 2. จ่ายไฟด้วย K1 ก่อนต่อจุดสสตาร์ด้วย K2 <br> <br><br> วงจรควบคุม( Control Circuit)<br><br>วงจรควบคุมสตาร์ทมอเตอร์สตาร์-เดลต้าแบบ<br>อัตโนมัติโดยใช้รีเลย์ตั้ง<br><br>ลำลับขั้นตอนการทำงาน<br> 1. กด S2ทำให้คอนแทคK2ทำงานต่อแบบ<br>สตาร์และรีเลย์ตั้งเวลาK4T ทำงานคอนแทค<br>ปิด ของK2ในแถวที่ 4ตัดวงจรK3 และคอนแทค<br>ปกติปิดในแถวที่ 2 ต่อวงจรให้เมนคอนแทค K1<br> 2.หลังจากที่K1ทำงานและปล่อยS2 ไปแล้ว<br>หน้าสัมปกติเปิด(N.O.)ของK1ในแถวที่ 3ต่อวงจร<br>ให้คอนแทคเตอร์ K2และตัวตั้งเวลา K4Tจะทำงาน<br>ตลอดเวลาขณะนี้มอเตอร์หมุนแบบสตาร์(Star) <br> 3. รีเลย์ตั้งเวลาK4Tทำงานหลังจากเวลาที่ตั้งไว้<br>คอนแทคเตอร์K2จะถูกตัดออกจากวงจรด้วย<br>หน้าสัมผัสปกติปิด(N.C.)ของ รีเลย์ตั้งเวลาK4T<br>ในแถวที่1และหน้าสัมผัสปกติปิด(N.C.)ของK2<br>ในแถวที่4 กลับสู่สภาวะเดิมต่อวงจรให้กัน<br>คอนแทคเตอร์K3ทำงาน และหน้าสัมผัสปกติปิด(N.C.)<br>ของ K3 ในแถวที่ 1 จะตัดคอนแทคเตอร์ K2<br>และรีเลย์ตั้งเวลาK4T ออกจากวงจร จะคงเหลือคอนแทคเตอร์K1และK3<br>ทำงานร่วมกันมอเตอร์หมุนแบบ เดลต้า(Delta)<br> 4.เมื่อต้องการหยุดการทำงานของมอเตอร์<br>ให้กดสวิตช์ S1(Stop)<br><br><br><br> <br> <br><br>หมายเหตุ<br><br> 1. ในขณะที่มอเตอร์สตาร์ทแบบสตาร์คอนแทคเตอร์ K1 กับK2 จะทำงาน <br> 2. เมื่อรีเลย์ตั้งเวลาได้เวลาที่ตั้งไว้มอเตอร์จะรันแบบเดลตต้าคอนแทคเตอร์K1กับ K3 ทำงาน<br> 3. คอนแทคเตอร์ K1กับ K2 จะทำงานพร้อมกันไม่ได้เพราะจะทำให้เกิดการลัดวงจร<br><br>
ความคิดเห็นที่ 24
1234
15/06/2551
12:25 น.
หาไม่เจอ
ความคิดเห็นที่ 25
เเรน
24/06/2551
17:02 น.
ดูดี
ความคิดเห็นที่ 26
แดน
14/09/2551
15:17 น.
ดีมากกกกกกกก<br><br>
ความคิดเห็นที่ 27
นน
16/10/2551
10:21 น.
อาราย<br>
ความคิดเห็นที่ 28
บาส
31/10/2551
18:48 น.
วงจรควบคุมของมอเตอร์ 3 เฟส ที่สตาร์ทแบบสตาร์และเดลต้าอัตโนมัติ
ความคิดเห็นที่ 29
pui
09/01/2552
11:52 น.
ขอวิธีตรวจสอบมอเตร์ของพัดลมเพดานหน่อย
ความคิดเห็นที่ 30
เอ๋
28/01/2552
12:09 น.
อยากทรบว่าทำไมเวลาสตาทมอเตอร์5แรงไปซักพักแล้วฟิวส์ขาดเปนเพราะสาเหตูอะไรครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 54 รายการ | «    1  2  3  4    »
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: