Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,050
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,630
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,031
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,843
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,514
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,595
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,549
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,847
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,418
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,491
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,403
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,553
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,666
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,187
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,609
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,592
17 Industrial Provision co., ltd 39,269
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,412
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,344
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,667
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,506
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,904
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,263
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,010
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,632
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,556
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,994
28 AVERA CO., LTD. 22,620
29 เลิศบุศย์ 21,719
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,441
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,294
32 แมชชีนเทค 19,929
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,907
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,228
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,188
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,837
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,644
38 SAMWHA THAILAND 18,345
39 วอยก้า จำกัด 17,949
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,518
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,379
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,355
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,288
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,262
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,170
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,129
47 Systems integrator 16,748
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,679
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,503
50 Advanced Technology Equipment 16,487
06/05/2548 11:13 น. , อ่าน 2,271 ครั้ง
Bookmark and Share
มีโปรเจคให้ช่วยคิดหน่อยครับ
โอ๋
06/05/2548
11:13 น.
ตอนนี้ที่บริษัทผมกำลังทำโปรเจคลดพลังงานระบบเดิมที่บริษัทใช้Inverterในการควบคุมมอเตอร์ตอนนี้ใช้อยู่ที่45HZ<br>ผมต้องการลดลงเป็น35Hzแต่ไม่อยากให้ไปกระทบถึงรอบของมอเตอร์จึงใช้วงจรเพิ่มแรงดันเข้ามาช่วยรักษาระดับแรงดันให้เท่ากับแรงดัน<br>ตอนใช้อินเวอร์เตอร์ที่ 45 hz พี่คิดว่าน่าจะเป็นไปได้ไหมครับสำหรับแนวคิดนี้
ความคิดเห็นทั้งหมด 13 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างซ่อมมอเตอร์
06/05/2548
14:04 น.
ผมมีความคิดเห็นอย่างนี้ครับ<br>สมมุติว่ามอเตอร์ที่ใช้งานอยู่เป็นมอเตอร์ 4 โปล<br> ที่ความถี่ 45 เฮิทรซ์มอเตอร์จะมีความเร็วสูงสุด ( ความเร็ว Synchronous Speed ) = 120x 45 /4=1350 รอบ<br> ที่ความถี่ 35 เฮิทรซ์มอเตอร์จะมีความเร็วสูงสุด ( ความเร็ว Synchronous Speed ) = 120x 35 /4=1050 รอบ<br> จะเห็นได้ว่าไม่ว่าจะป้อนแรงดันเท่าไหร่ ความเร็วสูงสุดของมอเตอร์ก็จะไม่เกิน 1050 รอบ จึงไม่น่าจะเป็นไปได้ สำหรับแนวความคิดอันนี้<br><br> และการที่เพิ่มแรงดันให้กับมอเตอร์ก็เป็นการเพิ่มแรงบิด มีโอกาสที่ทำให้ความเร็วรอบเปลี่ยนแปลงได้ไม่มากเท่ากับการเปลี่ยนแปลงความถี่<br>
ความคิดเห็นที่ 2
พี่เสือ
07/05/2548
12:20 น.
ไม่ทราบว่ามีแนวความคิดอย่างไร ทำไมจึงต้องใช้วงจรรักษาระดันเข้ามาเกี่ยวข้องครับ เพราะหากคุณใช้อินเวอร์ควบคุม <br>อินเวอร์จะทำการควบคุมอัตราส่วนระหว่าง V/F ให้โดยอัตโนมัติอยู่แล้ว รบกวนอธิบายเพิ่มเติมหน่อยนะ<br>
ความคิดเห็นที่ 3
โอ๋
09/05/2548
12:33 น.
พอดีคือผมเจอปัญหาที่ coil Magnetic เมื่อในวันที่ไม่มีการผลิตผมต้องการปรับลดลงinveter ที่ 35 Hz ทำให้เกิดกระแสดร็อป coil Magnetic ครางจึงต้องหาวิธีแก้ครับ
ความคิดเห็นที่ 4
พี่เสือ
09/05/2548
13:34 น.
ขอถามอีกนิดหนึ่ง เนื่องจากยังไม่เข้าใจ<br>ปัจจุบันคุณใช้แรงดันจากไหน ควบคุมการทำงานของ coil Magnetic จากแหล่งจ่ายอิสระ หรือว่าจากอินเวอเตอร์ ?
ความคิดเห็นที่ 5
โอ๋
10/05/2548
12:06 น.
ใช้จากInverter ครับ<br>
ความคิดเห็นที่ 6
ช่างซ่อมมอเตอร์
10/05/2548
17:30 น.
ขอให้ความคิดเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>ถ้าออกแบบให้ แรงดันจ่ายที่คอยล์แมกเนติกเท่าเดิม แต่ความถี่ลดลงมา ผมมั่นใจว่า คอลย์แมกเนติกจะไหม้แน่นอนครับ เนื่องจากค่าค่า Z ของคอยล์จะลด และกระแสจะเพิ่มขึ้น<br><br>สาเหตุที่ทำให้แมกเนติกครางน่าจะเกิดจากความถี่มากกว่าแรงดัน เนื่องจากที่แกนเหล็กของแมกเนติกจะมี Shaded Ring มาช่วยในการหน่วงเส้นแรงแม่เหล็กบางส่วนมาช่วยเสริมทำให้เกิดความต่อเนื่องในการดูด และการออกแบบตรงนี้จะออกแบบไว้ที่ ความถี่ 50 หรือ 60 ฉะนั้นเมื่อมีการลดความถี่ของแรงดันที่จ่ายจึงเหมือนมีการทำงานที่ไม่ต่อเนื่อง ( กระดิ่ง )
ความคิดเห็นที่ 7
ntn_w
12/05/2548
08:32 น.
เกี่ยวกับ Coil Magnetic และไฟเลี้ยง Coil , Mag ที่บอกว่าคราง อยู่ส่วนไหนของระบบครับ ถ้าเป็น Mag ที่อยู่ภายในเครื่อง Inverter แล้ว ล่ะก็ เราจะลดความถี่ Inverter เท่าไรก็ตาม ไม่ส่งผลต่อ แรงดันของ Coil Magnetic ใดๆ ทั้งสิ้นเลยนะครับ
ความคิดเห็นที่ 8
เซ็ง
17/05/2548
12:29 น.
คุณโอ๋ ทำงานที่ใหนอ่ะ โง่จัง ไม่รู้เจ้าของจ้างมาได้ไง<br>ทำไม่ได้ก็ลาออกไปซ่ะสิ ตายๆไปซะ ให้คนมีความสามารถเข้าไปทำแทนดีกว่า
ความคิดเห็นที่ 9
เซ็งน้อยกว่า
27/05/2548
16:43 น.
สร้างสรรหน่อยคุณเซ็ง
ความคิดเห็นที่ 10
big
06/06/2548
11:44 น.
ผมขอเดาว่าไม่เกี่ยวกันระหว่าง coil control voltage and power inverter voltage จะต้องแยกกันนะคับ.....
ความคิดเห็นที่ 11
ประยุทธิ์
06/07/2548
16:14 น.
ให้ดูพิกัดแรงดันของcoil และจัดไฟเลี้ยงให้ได้ตามพิกัดจากแหล่งอื่นที่มิใช่จากอินเวอร์ทปรับรอบมอเตอร์
ความคิดเห็นที่ 12
นักศึกษา
27/10/2550
12:43 น.
ตอนนี้ผมกำลังเรียนอยู่ปีสุดท้าย ระดับปวส. ช่างไฟฟ้า<br>และต้องทำโครงการส่งอาจารย์แต่ตอนนี้ยังคิดไม่ออก ใครมีไอเดียเจ๋งบ้างครับ ช่วยส่งให้ผมที่ <a href="mailto:p_saranyoo@yahoo.com" Target="_BLANK">p_saranyoo@yahoo.com</a>จะเป็นความกรุณาอย่างสูง
ความคิดเห็นที่ 13
K0-0ll
26/03/2551
10:51 น.
สำหรับนักศึกษา ทำตัวนี้เลย Active Fillter Type: Harmonic Current Injection ลองไปหาข้อมูลดู
ความคิดเห็นทั้งหมด 13 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: