Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,050
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,631
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,032
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,843
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,515
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,595
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,550
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,847
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,418
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,491
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,403
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,553
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,666
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,188
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,611
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,592
17 Industrial Provision co., ltd 39,269
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,412
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,344
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,668
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,507
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,904
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,265
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,010
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,632
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,556
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,994
28 AVERA CO., LTD. 22,620
29 เลิศบุศย์ 21,719
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,441
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,294
32 แมชชีนเทค 19,929
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,907
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,228
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,188
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,837
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,644
38 SAMWHA THAILAND 18,345
39 วอยก้า จำกัด 17,951
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,518
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,379
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,355
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,288
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,263
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,170
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,131
47 Systems integrator 16,748
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,679
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,503
50 Advanced Technology Equipment 16,487
20/04/2548 13:21 น. , อ่าน 7,468 ครั้ง
Bookmark and Share
restack stator
1engineer มือใหม่
20/04/2548
13:21 น.
ที่ถูกต้องมีวิธีการทำอย่างไรบ้างครับ<br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
ช่างซ่อมมอเตอร์
20/04/2548
18:31 น.
การ Restack Stator Core น่าจะถือว่าเป็นงานที่ยากที่สุดในการซ่อมมอเตอร์ ก่อนที่จะพูดถึงวิธีการทำงานคงต้องอธิบายหลักการ และสาเหตุของการที่จะต้อง Restack เสียก่อน<br><br> โดยปกติ แกนเหล็กที่มีสล๊อตสำหรับวางขดลวดจะมีโครงสร้างเป็นแผ่นๆนำมายึดติดกันด้วยวิธีการต่างๆ อาจจะเป็นการเชื่อม การบีดอัดด้วยแผ่นเหล็กภายนอก หรือการบีบอัดด้วยวงแหวนที่เชื่อมติดกับสเตเตอร์เฟรม<br> ในแต่ละแผ่นจะมีฉนวนเคลือบบางๆไว้เพื่อแยกแกนเหล็กแต่ละแผ่นออกจากกัน จุดประสงค์เพื่อที่จะลดกระแสไหลวนที่จะเกิดขึ้นหากไม่แยกเป็นแผ่นๆ แต่ไม่ได้หมายความว่าจะแยกกันเด็ดขาดเหมือนเป็นฉนวนตัวหนึ่งเพราะยังจะมีบางสว่นที่จะต่อถึงกันอยู่ ทำให้เราเมื่อนำมิเตอร์ไปวัดแล้วจะเห็นว่าถึงกัน แต่เมื่อดูภาพจากหน้าตัดแล้วพื้นที่ส่วนใหญ่จะถูกแยกออกจากกัน<br> สาเหตุที่ทำให้แกนเหล็กต้อง Restack แล้วจะมีอยู่ด้วยกัน 2 สาเหตุใหญ่คือ<br>1. แบริ่งของมอเตอร์เกิดความเสียหายทำให้โรเตอร์ตกมาเช็ดกับสเตเตอร์ ผิวหน้าของแผ่นลามิเนทจะโดนอัดติดกันเหมือนเป็นชิ้นเดียวกัน<br>2. เกิดการชอ๊ตเซอร์กิต และระเบิดของขดลวดสเตเตอร์ในตำแหน่งที่อยู่ในสล๊อต เศษทองแดงจะเข้าไปอัดและช๊อตแผ่นลามิเนท<br><br>หลักการของการแก้ไขคือทำทุกอย่างเพื่อให้สิ่งผิดปกติที่ไปจับยึดแผ่นลามิเนทไว้หลุดหายไป ซึ่งคงจะขึ้นอยู่กับระดับความเสียหายว่าเสียหายมากน้อยขนาดไหน ผมเรียงจากความเสียหายน้อยไป ถึงวิธีที่แก้ไขความเสียหายมาก<br>1. อาจจะใช้การปัดด้วยลูกปัดกระดาษทราย<br>2.อาจจะต้องใช้ อุปกรณ์จำพวกลุกหมุนที่ใช้แต่งแม่พิมพ์ ทำความสะอาดร่องสล๊อต<br>3.แยกแผ่นลามิเนทเป็นแผ่นด้วยวิธีแซะ<br>4.ดันแกนเหล็กออกและรื้อเป็นแผ่นๆ สลับตำแหน่ง ดันกลับเข้าที่เดิม<br>5 ดันแกนเหล็กออกและรื้อเป็นแผ่น ทาฉนวนใหม่ ดันกลับเข้าที่เดิม<br><br> นี่คงเป็นหลักการเคร่าๆ แต่ก่อนที่จะ Restack ควรที่จะทำการ CoreLoss ก่อนและหลังด้วย เพื่อดูค่าความสูญเสียด้านแกนเหล็กว่ามีมากน้อยเพิ่มขึ้นเพียงใด
ความคิดเห็นที่ 2
ขอแจม เพราะอยากรู้
21/04/2548
19:55 น.
น้ำยาที่ใช้ทาเคลือบแผ่นแกนเหล็กเป็นชนิดใหนครับ
ความคิดเห็นที่ 3
ช่างซ่อมมอเตอร์
21/04/2548
20:37 น.
ควรจะเป็นน้ำยาที่ใช้ทาแกนเหล็กโดยเฉพาะเพราะจะทำให้สามารถทนอุณหภูมิได้สูง ถ้าจำไม่ผิดสารเคลือบแผ่นลามิเนทจะสามารถทนอุณหภฺมิได้สูงถึง 700 องศาฟาเรนไฮน์<br><br> บ้านเรามีขายแน่นอนครับ และถ้าเป็นร้านซ่อม หรือโรงซ่อมก็น่าจะรู้ว่าซื้อที่ไหนส่วนว่าจะซื้อไปใช้หรือเปล่า คงไม่ต้องพูดถึง
ความคิดเห็นที่ 4
1 engineerมือใหม่
25/04/2548
18:08 น.
แล้ววิธีการ restack rotor ที่เป็นสริปริงเหมือนกันหรือไม่ครับแล้ว core loss คืออะไร ทำอย่างไรครับ จำเป็นขนาดใหนครับในกระบวนการ restack
ความคิดเห็นที่ 5
ช่างซ่อมมอเตอร์
25/04/2548
22:01 น.
การทำ Restack ไม่ว่าเป็นโรเตอร์ หรือ สเตเตอร์ที่มีขดลวดจะเหมือนกันครับ จุดประสงค์หลักก็คือการที่ทำให้ไม่ให้เกิด Hot Spot ขึ้นไปทำลายสภาพของ ฉนวน ซึ่งจะส่งผลทำให้มอเตอร์ไหม์ในโอกาสต่อไป<br><br>ส่วนการทำ Core Loss Test คือการวัดค่าการสูญเสียของแกนเหล็กครับ ถ้าแกนเหล็กมีค่าความสูญเสียมากเราก็จะไม่สามารถใช้งานมอเตอร์ได้เต็มพิกัด เพราะมอเตอร์จะมีอุณหภูมิสูงขึ้น และส่งผลทำให้อายุการใช้งานของมอเตอร์สั้นลง และในขณะเดียวกันเราต้องใช้กำลังงานจ่ายมอเตอร์มากขึ้นในขณะที่จ่ายโหลดเท่าเดิม
ความคิดเห็นทั้งหมด 5 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: