Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,024
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,617
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,016
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,822
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,496
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,583
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,536
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,845
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,400
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,478
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,391
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,539
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,641
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,175
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,584
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,581
17 Industrial Provision co., ltd 39,256
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,399
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,324
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,654
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,488
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,887
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,249
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,992
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,616
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,545
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,981
28 AVERA CO., LTD. 22,611
29 เลิศบุศย์ 21,710
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,419
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,280
32 แมชชีนเทค 19,918
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,894
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,208
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,174
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,825
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,626
38 SAMWHA THAILAND 18,328
39 วอยก้า จำกัด 17,935
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,506
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,364
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,338
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,272
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,247
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,157
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,110
47 Systems integrator 16,734
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,664
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,485
50 Advanced Technology Equipment 16,468
14/08/2552 22:23 น. , อ่าน 2,203 ครั้ง
Bookmark and Share
ใครรู้จักเครื่อง seasonning บ้าง
koi shiyo
14/08/2552
22:23 น.
ใครรู้จักเครื่อง seasonning บ้าง<br><br>มันคือเครื่องที่ใช้สำหรับทดสอบ commutator <br>แต่อยากรู้ว่ามันมีมาตรฐานอะไรบ้าง <br>ในเรื่องของความเร็ว ความร้อน ระยะเวลา หรือขั้นตอนการทำงาน<br>
ความคิดเห็นทั้งหมด 9 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
koi shiyo
14/08/2552
22:26 น.
traction motor<br><br>เป็นมอเตอร์ชนิดใดครับ...มีการทำงานที่เป็นพิเศษต่างจากมอเตอร์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมอย่างไร
ความคิดเห็นที่ 2
pdk
15/08/2552
18:48 น.
ใช้ในอุตสาหกรรมการเดินรถไฟครับ ลองเข้าไปหาข้อมูล รถไฟไทยดูครับ
ความคิดเห็นที่ 3
pdk
15/08/2552
19:12 น.
(2) การทำ Commutator seasoning จะต้องดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้<br>2.1 หมุน Commutator ที่ 3,000 rpm. และให้ความร้อนที่หน้า Commutator สูง 155 – 165 oC<br>เป็นเวลา 60 นาที<br>2.2 หมุน Commutator ที่ 3,000 rpm. ในขณะอุณหภูมิ 155 – 165 oC เป็นเวลา 30 นาที<br>2.3 หมุน Commutator ที่ 3,000 rpm. โดยลดอุณหภูมิลงมาต่ำสุดที่ 50 oC เป็นเวลา 30 นาที<br>2.4 ทำตามข้อที่ 2.1, 2.2 และ 2.3 รวม 3 ครั้ง [Three Cycles] และปล่อยให้ Commutator เย็นลงมาที่<br>อุณหภูมิห้อง แล้วทำการกลึงหน้า Commutator<br>2.5 ทำตามข้อที่ 2.1, 2.2 และ 2.3 รวม 2 ครั้ง [Two Cycles]<br>2.6 หมุน Commutator ที่ 3,000 rpm. ให้ความร้อนที่หน้า Commutator สูง 140 – 150oC เป็น<br>เวลา 60 นาที (เป็นข้อมูลของการรถไฟเเห่งประเทศไทย ที่ใช้สำหรับการตรวจรับงาน ซ่อมtraction motorครับ<br><br>
ความคิดเห็นที่ 4
koi shiyo
16/08/2552
10:53 น.
ขอบคุณครับ<br><br>ขอถามต่ออะครับ....การทำ<br>Commutator seasoning มีความจำเป็นเฉพาะ traction motor หรีอปล่าวครับ ดีซีมอเตอร์ชนิดอื่นไม่มีความจำเป็น..ที่จะต้องทำการ seasoning หรือครับ<br><br>traction motor เป็นซีรี่ส์มอเตอร์ทุกตัวเหรอปล่าว หรือว่าเป็นมอเตอร์ชนิดไหนก้อได้แต่เอามาใช้กับงานการลากจูง เช่นรถไฟครับ
ความคิดเห็นที่ 5
ช่างซ่อมมอเตอร์
17/08/2552
10:39 น.
ขอให้ความคิดเห็นอย่างนี้ครับ<br><br>Seasoning เป็นวิธี Simmulated สถานะการใช้งานจริงของคอมมิวเตเตอร์ ที่มีทั้งโอกาสเกิดความร้อนขึ้นและ เย็นตัวลง ซึ่งความร้อนหรืออุณหภูมิที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อการขยายตัวและหดตัวของชิ้นส่วนประกอบของคอมมิวเตอร์ที่มีโลหะเป็นส่วนประกอบหลัก และมีไมก้าเป็นส่วนประกอบรอง การทดสอบจะเน็นเรื่องการขยายตัวและหดตัวลงมาแล้วสภาพของคอมมิวเตเตอร์ยังจะมีมิติ ที่ยอมรับได้หรือไม่ (กลม หรือไม่กลม และมีการขยับตัวของซี่บาร์หรือไม่ ) <br><br>ฉะนั้นการทดสอบจะต้องสัมพันธ์กับความเร็วรอบและอุณหภูมิใช้งาน ตามความคิดเห็นทั้งอุณหภูมิและความเร็วรอบทดสอบไม่ควรเกิน 20 เปอร์เซนต์ของพิกัดส่วนระยะเวลาคงจะยิ่งนานยิ่งดี<br><br>การทดสอบที่ไม่อ้างอิงจากพิกัดเดิมอาจจะทำให้เกิดความเสียหายจากการทดสอบ มากกว่าความบกพร่องที่เกิดจากการผลิต<br><br>อ้นที่จริงไม่ว่าเป็นคอมมิวเตเตอร์ของมอเตอร์อะไรก็ควรที่จะทดสอบด้วยวิธีนี้เท่านั้นซึ่งในต่างประเทศจะทดสอบกันทุกตัวแต่บ้านเราอาจจะมีเฉพาะที่การรถไฟเท่านั้นที่เน้นทดสอบแบบนี (ไม่รู้ว่าได้ทดสอบหรือเปล่า )<br><br>ส่วนTraction Motor เป็นเฉพาะ ซี่รีส์มอเตอร์หรือเปล่า เท่าที่เจอในบ้านเราก็จะเป็นเฉพาะซี่รี่ส์มอเตอร์ แต่ก็อาจจะมีชนิดอื่นอีกเหมือนกัน เช่น คอมเปาว์ดมอเตอร์ซึ่งมีคุณสมบัติด้านแรงบิดเริ่มสตาร์ทที่สูงเหมือนกับซี่รี่ส์มอเตอร์
ความคิดเห็นที่ 6
koi shiyo
18/08/2552
22:37 น.
ขอบคุณครับ<br><br>
ความคิดเห็นที่ 7
pdk
19/08/2552
13:29 น.
ขอบคุณช่างซ่อมครับที่เข้ามาช่วยให้ความเห็นในเชิงลึกอีกที ขอบคุณครับ..
ความคิดเห็นที่ 8
koi shiyo
20/08/2552
00:08 น.
ข้อสงสัยเพิ่มเต็ม<br><br>เมื่อเราทำคอมมิวเตเตอร์มาใหม่....การจะนำไปทดสอบด้วยเครื่องseasonning จำเป็นจะต้องติดตั้ง คอมมิวเตเตอร์บนเพลาของอาร์เมเจอร์ของมันหรือไม่......หรือว่าไม่จำเป็น
ความคิดเห็นที่ 9
ช่างซ่อมมอเตอร์
20/08/2552
09:52 น.
ถ้าเป็นไปได้ก็จะดีถ้าจะมีการติดตั้งกับโรเตอร์เลยเพราะจะทำให้เกิดการทำงานแมคคานิคที่ไม่ต้องถอดไปถอดมาออกจากเพลา แต่ก็จะเจอปัญหาเรื่องของชุดที่จะมาขับคอมมิวที่ต้องมีเพาเวอร์มาขับมากขึ้นเปรียบเทียบกับ ติดตั้งคอมมิวเข้ากับเพลาตัวอย่างก่อน ซึ่งมีขนาดที่เล็กและมวลที่น้อยกว่า ทำให้การทำและควบคุมความเร็วรอบได้ตามที่กำหนดจะง่าย และสะดวกกว่า
ความคิดเห็นทั้งหมด 9 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: