Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,058
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,638
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,035
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,848
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,521
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,599
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,554
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,850
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,423
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,494
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,407
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,557
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,670
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,199
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,619
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,607
17 Industrial Provision co., ltd 39,271
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,419
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,349
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,670
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,514
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,906
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,270
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,016
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,637
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,565
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,999
28 AVERA CO., LTD. 22,623
29 เลิศบุศย์ 21,724
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,454
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,296
32 แมชชีนเทค 19,945
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,910
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,237
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,192
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,838
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,649
38 SAMWHA THAILAND 18,352
39 วอยก้า จำกัด 17,954
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,524
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,384
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,358
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,295
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,267
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,173
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,133
47 Systems integrator 16,751
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,687
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,519
50 Advanced Technology Equipment 16,496
07/05/2552 16:55 น. , อ่าน 8,312 ครั้ง
Bookmark and Share
motorเท่าไรต้อง star-delta
moter
07/05/2552
16:55 น.
motorเท่าไรต้อง star-delta
ความคิดเห็นทั้งหมด 11 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
koi shiyo
07/05/2552
19:24 น.
ไม่มีมาตรฐาน<br><br>ขึ้นอยู่กับความเหมาะ สมของขนาดระบบไฟฟ้าของโรงงาน
ความคิดเห็นที่ 2
pongpan
09/05/2552
15:49 น.
&gt;7.5kw
ความคิดเห็นที่ 3
มิมิ
11/05/2552
12:31 น.
อยู่ที่ค่าใช้จ่ายไฟฟ้า สตารท์บ่อยไหม เทียบกับค่าอุปกรณ์คุ้มทุนกับค่าไฟเมื่อไร<br>จบข่าว
ความคิดเห็นที่ 4
Sek
19/05/2552
18:18 น.
ขึ้นอยู่กับ name plate ของมอเตอร์ ด้วย ปกติมอเตอร์ ต่ำกว่า3Kw แรงดันจะเป็น 380/690 V ซึ้งสามารถสตาร์ทแบบ สตาร์-เดลต้า ได้ ส่วน การใช้Kw เป็นตัวกำหนดนั้นจะมองในมุม ของการลดกระแส ช่วงสตาร์ท แต่ถ้าแหล่งจ่ายไฟฟ้ามีขนาดใหญ่พอก้อไม่จำเป็น
ความคิดเห็นที่ 5
sek
19/05/2552
18:19 น.
ขึ้นอยู่กับ name plate ของมอเตอร์ ด้วย ปกติมอเตอร์ สูงกว่า3Kw แรงดันจะเป็น 380/690 V ซึ้งสามารถสตาร์ทแบบ สตาร์-เดลต้า ได้ ส่วน การใช้Kw เป็นตัวกำหนดนั้นจะมองในมุม ของการลดกระแส ช่วงสตาร์ท แต่ถ้าแหล่งจ่ายไฟฟ้ามีขนาดใหญ่พอก้อไม่จำเป็น
ความคิดเห็นที่ 6
Bb
21/05/2552
16:44 น.
โดยทั่ว ๆ ไปก็เริ่มที่ขนาด 5.5 kw เป็นต้นไป เพราะส่วนใหญ่มอเตอร์ที่มากกว่า 5.5 kW ก็จะออกแบบให้มีการ Start แบบ Delta ครับ เลยนำมา Start แบบ Star-delta ได้
ความคิดเห็นที่ 7
NAJA
05/06/2552
11:44 น.
Knowledge Center ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ Starter แบบ Star-Delta <br>ไม่มีความจำเป็นต้องใช้ Magnetic Starter แบบ Star-Delta<br>ฤชากร จิรกาลวสาน<br>ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br>ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br>ที่มา : บทความวิชาการชุดที่ 3 สมาคมวิศวกรรมปรับอากาศแห่งประเทศไทย<br> เป็นเวลานับสิบๆปี ที่ผู้เขียนได้เห็นการใช้ Magnetic Starter แบบสตาร์เดลตา (Star-Delta) กับมอเตอร์ต่างๆ ในระบบปรับอากาศและระบายอากาศ รวมถึงปั๊มน้ำต่างๆ ระบบอัดอากาศกันควัน และระบบห้องเย็น ซึ่งต้องเสียเงินมากโดยไม่มีความจำเป็น สาเหตุก็เนื่องจากเข้าใจผิดว่า ของแพงต้องดีกว่าของถูกเสมอ ความจริงแล้วหาเป็นเช่นนั้นไม่<br>ก่อนอื่นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า มอเตอร์ทั่วๆไปขณะหยุดนิ่งอยู่ ถ้าสตาร์ท (เริ่มเดิน) จะดึงกระแสไฟฟ้าประมาณ 4 ถึง 6 เท่าของกระแสไฟฟ้าปกติเวลาใช้งานเต็มที่ การไฟฟ้านครหลวงซึ่งเป็นผู้จำหน่ายไฟฟ้าสมัยประมาณปี พ.ศ. 2503 เกรงว่ามอเตอร์ของผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละรายตอนสตาร์ท อาจรบกวนซึ่งกันและกัน จึงออกเป้นกฎว่า "เครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาดสูงกว่า 15 แรงม้า ต้องเป็นชนิด 3 ยก เครื่องยนต์ไฟฟ้าตั้งแต่ 5 แรงม้า ถึง 50 แรงม้า จะต้องมีกระแสเมื่อเริ่มเดินขึ้นสูงไม่เกิน 250% ของกระแสปกติเวลาใช้งานเต็มที่ มิฉะนั้นจะต้องมีเครื่องประกอบการเริ่มเดินที่จะยังผลให้ กระแสเมื่อเริ่มเดินสูงไม่เกิน 250% ของกระแสปกติเวลาใช้งานเต็มที่" แต่มีย่อหน้าต่อไปว่า "...สำหรับการติดตั้งเครื่องยนต์ไฟฟ้าหลายๆเครื่อง ถ้าเครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กมีกระแสไฟฟ้าเมื่อเริ่มเดินไม่สูงกว่ากระแสเริ่มเดินที่กำหนดให้ (250% ของกระแสปกติเวลาใช้งานเต็มที่) ของเครื่องยนต์ไฟฟ้าที่ใหญ่ที่สุดแล้วอาจจะใช้เครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาดเล็กดังกล่าวได้โดยไม่ต้องติดตั้งเครื่องประกอบการเริ่มเดิน" และมีหัวข้อต่อไปว่า "เครื่องยนต์ไฟฟ้าขนาด 50 แรงม้าขึ้นไป ต้องมีเครื่องประกอบการเริ่มเดินที่เหมาะสม ซึ่งจะตัดกระแสไฟฟ้าเมื่อกระแสไฟฟ้าสูงเกินกำหนด หรือ แรงดันต่ำกว่ากำหนด พร้อมด้วยอุปกรณ์ป้องกันการใช้ผิด (interlocking device)" เป็นที่น่าแปลกใจ วิศวกรเกือบทุกคนสนใจเฉพาะข้อความต้นและท้ายเท่านั้น ส่วนกลางที่ขีดเส้นใต้ไว้ กลับไม่มีใครสนใจ เกือบทุกคนจะใช้การสตาร์ทแบบ Star-Delta สำหรับมอเตอร์ทุกตัวที่มีขนาดตั้งแต่ 5 แรงม้าเป็นต้นไป สาเหตุที่พอจะเดาได้ก็คือ ความเข้าใจผิดจากตัวเอง และจากตำราหลายเล่มที่เขียนชวนเข้าใจผิด ความเข้าใจผิดต่างๆ อาจจะวิเคราะห์ได้ดังต่อไปนี้<br>
ความคิดเห็นที่ 8
NAJA
05/06/2552
11:47 น.
เอาข้อความข้างบนไปหาในเน็ตต่อนะถ้าอยากแตกฉาน
ความคิดเห็นที่ 9
UMC
06/06/2552
14:47 น.
เอาบทความของวิศวเครื่องกลมาสรุปงานไฟฟ้า ก็ไม่น่าจะถูกเท่าไหร่ เพราะรายละเอียดในการพิจารณายังมีอีกมาก ยังไหร่แล้ว ตามความคิด สรุปสั้นๆ การลดขนาดกระแสสตาร์ทลง ย่อมมีผลดีต่อระบบไฟฟ้าอย่างแน่นอน
ความคิดเห็นที่ 10
ช่างซ่อมมอเตอร์
20/06/2552
10:46 น.
เห็นด้วยกับคำตอบที่ 9 ครับ
ความคิดเห็นที่ 11
KEB
26/06/2552
21:45 น.
ไฟฟ้าส่วนไฟฟ้า เครื่องกลส่วนเครื่องกล
ความคิดเห็นทั้งหมด 11 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: