Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,068
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,640
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,040
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,854
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,525
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,604
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,556
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,851
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,427
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,497
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,409
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,561
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,676
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,204
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,628
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,609
17 Industrial Provision co., ltd 39,272
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,422
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,351
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,677
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,516
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,908
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,276
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,023
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,642
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,567
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,006
28 AVERA CO., LTD. 22,627
29 เลิศบุศย์ 21,727
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,459
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,298
32 แมชชีนเทค 19,947
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,915
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,239
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,197
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,842
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,653
38 SAMWHA THAILAND 18,359
39 วอยก้า จำกัด 17,957
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,529
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,388
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,362
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,303
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,271
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,177
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,140
47 Systems integrator 16,753
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,690
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,526
50 Advanced Technology Equipment 16,500
18/03/2552 12:59 น. , อ่าน 3,859 ครั้ง
Bookmark and Share
อยากทราบค่ากระแส motor ตอน no load
A
18/03/2552
12:59 น.
อยากทราบค่ากระแส motor ตอน no load โดยไม่ต้อง Test ครับ AC motor 3 phase ทุก size เอาไว้มาอ้างอิง<br>จะเป็นตาราง หรือ สูตรคำนวนก็ได้ <br>ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นทั้งหมด 14 รายการ |
ความคิดเห็นที่ 1
UMC
18/03/2552
13:30 น.
ทิ้งเมลไว้ครับแล้วจะส่งไปให้ หรือเมลมาที่ <a href="mailto:info-umc@uservices-thailand.com" Target="_BLANK">info-umc@uservices-thailand.com</a>
ความคิดเห็นที่ 2
UMC
24/03/2552
18:44 น.
ส่งให้แล้วนะครับ
ความคิดเห็นที่ 3
teerasak_ko@hotmail.com
07/04/2552
00:38 น.
ขอด้วยคนนะครับ ส่งให้หน่อย<br><br> ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ความคิดเห็นที่ 4
ball_01pr47@hotmail.com
09/04/2552
11:10 น.
ขอด้วยคนครับ<br>ขอบคุณครับ
ความคิดเห็นที่ 5
UMC
20/04/2552
10:59 น.
คำตอบที่ 3, 4 ส่งให้แล้วครับ
ความคิดเห็นที่ 6
koi shiyo
21/04/2552
01:45 น.
ได้ข้อมูลไปแล้ว..อย่านำเอาไปเป็นมาตรฐานกับมอเตอร์ทุกตัวนะครับ เพราะตัวเลขนี้เป็นข้อมูลจากประสบการณ์ การเทสมอเตอร์ที่เขาผลิตใช้งานแบบทั่วๆไป แต่ถ้าเป็นมอเตอร์เขาผลิตขึ้นมาใช้งานเฉพาะแล้วจะใช้ตัวเลขพวกนี้ใช้ไม่ได้ และจะรวมถึงมอเตอร์พวกต้นทุนต่ำด้วย มอเตอร์บางตัวกระแสขณะโนโหลดสูงเกินกว่าตัวเลขที่ให้มา แต่ถ้ามันไปขับโหลดที่พิกัดแล้วกระแสมันไม่เกินพิกัดก้อถือว่าขดลวดมอเตอร์ปกติแล้ว....แต่ถ้าจะไปแก้ไขให้กระแสขณะโนโหลดให้มันลดต่ำลงมาได้ตามตัวเลขที่มา อาจจะใช้งานไม่ได้ก้อได้ หรือใช้ได้แต่อาจไม่ดีหรือมีประสิทธิภาพต่ำอายุการใช้งานสั้น เพราะการแก้ไขให้กระแสโนโหลดต่ำลง ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการเพิ่มรอบของขดลวด การเพิ่มรอบของขดลวดจะทำให้ มีค่า XL เพิ่มขึ้นในวงจร ทำให้ค่าอิมพีแดนซ์รวมเพิ่มขึ้น เมื่อจ่ายเเรงดันให้มอเตอร์เท่าเดิมกระแสโนโหลดมันก็จะลดลง แต่สิ่งที่ตามมาของการเพิ่มรอบก้อคือลวดที่ใช้มีความยาวมากขึ้น เมื่อลวดยาวมากขึ้น สิ่งที่ตามมาก้อคือ ความต้านทานของขดลวดมากขึ้น สิ่งที่จะตามมาอีกก้อคือ...ความร้อนที่เกิดเพิ่มหรือการสูญเสียในขดลวดนั้นเอง เเละประสิทธิภาพมอเตอร์ที่ลดลง และยังไม่รวมไปถึงแรงบิดขณะสตาร์ทที่มันถูกลดลงไปด้วย<br><br>
ความคิดเห็นที่ 7
koi shiyo
21/04/2552
01:58 น.
แต่การลดกระแสโนโหลดด้วยวิธีข้างบนยังดีกว่าอีกวิธีหนึ่ง<br>เพราะมอเตอร์จะยังใช้งานได้ถึงจะไม่ดีนัก<br><br>เพราะยังมีช่างพันมอเตอร์หลายๆคนเข้าใจว่า ถ้าค่าความต้านทานที่เพิ่มมากขึ้นจะทำให้กระแสโนโหลดลดลง ....เขาจึงใช้วิธีลดขนาดของลวดให้เล็กลงแต่พันรอบเท่าเดิม ผลที่ตามมาก้อคือนอกกระแสแทบจะไม่ลดลงแล้ว มอเตอร์จะไม่สามารถนำไปใช้งานได้เลย หรือใช้ได้ก้อใช้ได้ไม่กี่ชั่วโมง<br><br>ดังนั้นการจะยึดเอาไปเป็นมาตรฐานอ้างอิง ควรจะเป็นกรณีๆ ไป <br><br>จากประสบการณ์ของผม เพราะเจ้าตารางมาตรฐานกระแสโนโหลดนี้ละทำให้ผมไม่สามารถปิดงานเสียที ทั้งที่มอเตอร์ตัวนั้นก็ไม่ได้พันใหม่ เป็นการรีคอนดิชั่น ธรรมดาเอง แล้วก็เป็นมอเตอร์ยี่ห้อ เอบีบีด้วยนะ กว่าจะปิดงานก้อต้องรอจนหมดสัญญาว่าจ้าง
ความคิดเห็นที่ 8
UMC
21/04/2552
14:33 น.
ค่ากระแส Noload ที่ให้ไปเป็นค่ากระแสที่ได้จากคู่มือมอเตอร์ยี่ห้อหนึ่ง ไม่ได้เกิดจากประสบการณ์ และไม่มีสถาบันใดสามารถกำหนดเป็นมาตรฐานได้ ฉะนั้นเอาเป็นแนวทางได้เฉพาะมอเตอร์ส่วนใหญ่ ซึ่งแน่นอนว่ามอเตอร์บางส่วนจะมีค่าไม่ใกล้เคียงเลย
ความคิดเห็นที่ 9
นศ.ฝึกงาน
22/04/2552
10:42 น.
วิธีที่ลดพลังงานไฟฟ้าจากมอเตอร์จะคิดจาก No load รึป่าวคับ มีวิธีคิดอย่างไร
ความคิดเห็นที่ 10
วัชระ โตเจริญนิรัติศัย
19/05/2552
21:22 น.
ผมขอข้อมูลของพี่UMC ด้วยครับ ขอบคุญมากครับ <a href="mailto:tar_watchara@hotmail.com" Target="_BLANK">tar_watchara@hotmail.com</a>
ความคิดเห็นที่ 11
ตา วัดคุม
23/02/2553
20:25 น.
ผมขอข้อมูลของพี่UMC ด้วยคนครับ เพื่อเป็นแนวทางการทำงานครับ<br> ขอบคุญมากครับ <a href="mailto:pho_nong@hotmail.com" Target="_BLANK">pho_nong@hotmail.com</a>
ความคิดเห็นที่ 12
kibkae banpong
05/09/2556
14:54 น.
ขอข้อมูลด้วยครับ
ความคิดเห็นที่ 13
นัท
11/09/2556
11:34 น.
ขอด้วยคนครับ ขอบคุณครับ

E-Mail : nattachai1979@gmail.com
ความคิดเห็นที่ 14
เอฟ
24/07/2561
11:27 น.
E-Mail : gvafa123@gmail.com
ขอด้วยพี่
ความคิดเห็นทั้งหมด 14 รายการ |
แนบรูปประกอบ:
นามสกุล *.jpg , *.gif เท่านั้น
ชื่อผู้ตอบกระทู้:
คำถามเชิงวิศวกรรม(ตอบเป็นตัวเลขเท่านั้น):
2 เซ็นติเมตรมีกี่มิลลิเมตร
ระบุข้อความยืนยันด้านล่าง: