Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,977
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,574
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,985
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,766
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,460
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,545
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,505
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,815
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,338
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,444
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,355
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,506
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,579
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,126
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,509
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,552
17 Industrial Provision co., ltd 39,220
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,371
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,295
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,616
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,435
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,850
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,217
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,954
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,579
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,514
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,944
28 AVERA CO., LTD. 22,584
29 เลิศบุศย์ 21,680
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,378
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,242
32 แมชชีนเทค 19,890
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,867
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,182
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,134
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,796
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,600
38 SAMWHA THAILAND 18,289
39 วอยก้า จำกัด 17,893
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,472
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,322
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,298
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,234
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,203
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,129
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,064
47 Systems integrator 16,708
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,625
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,452
50 Advanced Technology Equipment 16,440
16/01/2553 12:35 น. , อ่าน 5,778 ครั้ง
Bookmark and Share
ระบบสมองกลควบคุมเครื่องยนต์สำหรับก๊าซธรรมชาติ
โดย : Admin

ระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ

 

\"netham_1\"

ระบบบริหารเครือข่ายอัจฉริยะ  เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของ open-source software มีส่วนประกอบหลัก 3 ส่วนคือ

1. ระบบดูแลตรวจสอบสถานะของเครือข่ายและบริการ(Network Health Analysis and Monitoring) NetHAM ใช้ตรวจวิเคราะห์สถานะการทำงาน และทรัพยากรบนอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ และแจ้งเตือนผู้ดูแลระบบในกรณีที่เกิดความผิดพลาดขึ้นกับอุปกรณ์เหล่านั้น

\"netham_2\"

2. ระบบตรวจวัดและวิเคราะห์การใช้งานบนเครือข่าย (Traffic Monitoring and Classification)  ใช้ในการตรวจสอบพฤติกรรมการใช้งานเครือข่าย จำแนกตามชนิดของ application ที่ใช้งานของผู้ใช้แต่ละคน รวมถึงสามารถรายงานความผิดปกติที่อาจเกิดจากการจู่โจมบนเครือข่าย

3. ระบบบริหารจัดการแบนด์วิธ (ฺBandwidth manager) สามารถควบคุมปริมาณการใช้งานแบนด์วิธเข้า-ออกเครือข่าย  ควบคุมปริมาณการใช้งานแบนด์วิธเข้า-ออกเครือข่าย โดยสามารถควบคุมแบนด์วิธและจำกัดการใช้งานอินเทอร์เน็ต จำแนกตามผู้ใช้และตามประเภทของ application

\"netham_3\"

ระบบนี้จะช่วยลดภาระของผู้ดูแลระบบ โดยลดขั้นตอนการจัดการเครือข่ายบางส่วนซึ่งต้องทำเป็นประจำ เช่น การตรวจสอบสถานะของเซิร์ฟเวอร์ให้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ และลดขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อนลง นอกจากนี้ระบบบริหารจัดการเครือข่ายดังกล่าวเป็นเสมือนผู้เชี่ยวชาญที่สามารถแจ้งเตือน และแนะนำวิธีแก้ปัญหาแก่ผู้ดูแลระบบ ทำให้ผู้ดูแลระบบสามารถบริหารเครือข่ายให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

 

วิจัยและพัฒนาโดยหน่วยปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีเครือข่าย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

ระบบบริหารจัดการเครือข่ายอัจฉริยะ

 

\"netham_1\"

ระบบบริหารเครือข่ายอัจฉริยะ  เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของ open-source software มีส่วนประกอบหลัก 3 ส่วนคือ

1. ระบบดูแลตรวจสอบสถานะของเครือข่ายและบริการ(Network Health Analysis and Monitoring) NetHAM ใช้ตรวจวิเคราะห์สถานะการทำงาน และทรัพยากรบนอุปกรณ์เครือข่ายต่างๆ และแจ้งเตือนผู้ดูแลระบบในกรณีที่เกิดความผิดพลาดขึ้นกับอุปกรณ์เหล่านั้น

\"netham_2\"

2. ระบบตรวจวัดและวิเคราะห์การใช้งานบนเครือข่าย (Traffic Monitoring and Classification)  ใช้ในการตรวจสอบพฤติกรรมการใช้งานเครือข่าย จำแนกตามชนิดของ application ที่ใช้งานของผู้ใช้แต่ละคน รวมถึงสามารถรายงานความผิดปกติที่อาจเกิดจากการจู่โจมบนเครือข่าย

3. ระบบบริหารจัดการแบนด์วิธ (ฺBandwidth manager) สามารถควบคุมปริมาณการใช้งานแบนด์วิธเข้า-ออกเครือข่าย  ควบคุมปริมาณการใช้งานแบนด์วิธเข้า-ออกเครือข่าย โดยสามารถควบคุมแบนด์วิธและจำกัดการใช้งานอินเทอร์เน็ต จำแนกตามผู้ใช้และตามประเภทของ application

\"netham_3\"

ระบบนี้จะช่วยลดภาระของผู้ดูแลระบบ โดยลดขั้นตอนการจัดการเครือข่ายบางส่วนซึ่งต้องทำเป็นประจำ เช่น การตรวจสอบสถานะของเซิร์ฟเวอร์ให้เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ และลดขั้นตอนที่ยุ่งยากซับซ้อนลง นอกจากนี้ระบบบริหารจัดการเครือข่ายดังกล่าวเป็นเสมือนผู้เชี่ยวชาญที่สามารถแจ้งเตือน และแนะนำวิธีแก้ปัญหาแก่ผู้ดูแลระบบ ทำให้ผู้ดูแลระบบสามารถบริหารเครือข่ายให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

 

วิจัยและพัฒนาโดยหน่วยปฏิบัติการวิจัยเทคโนโลยีเครือข่าย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์
และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

 

ระบบสมองกลฝังตัว  เป็นระบบที่ควบคุมการทำงานด้วยไมโครโพรเซสเซอร์หรือไมโครคอนโทรลเลอร์ ซึ่งบรรจุซอฟต์แวร์เอาไว้ภายใน เหมือนกับระบบคอมพิวเตอร์แบบ PC โดยฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัวออกแบบมาให้ทำงานเพื่อให้เหมาะสมเครื่องยนต์แต่ละประเภท

การนำเทคโนโลยีระบบสมองกลฝังตัว(Embedded Systems) มาประยุกต์ใช้ในการดัดแปลงรถยนต์นั้น มีการนำมาใช้งานได้หลายรูปแบบ คือ ควบคุมการจุดระเบิด และควบคุมการฉีดหรือการจ่ายเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์

\"ecu_1\"

การควบคุมการจุดระเบิด ชุดคำสั่งไมโครคอนโทรลเลอร์ สามารถเลือกจังหวะเวลาการจุดระเบิดที่เหมาะสมผ่านเครื่อวัดกำลังเครื่องยนต์  ใช้ในการดัดแปลงเครื่องยนต์ ดีเซล ที่ต้องอาศัยหลักการพื้นฐานของเครื่องยนต์ก๊าซโซลีน โดยลดกำลังอัดของกระบอกสูบของเครื่องยนต์ดีเซลลงมา แล้วเพิ่มระบบสมองกลฝังตัว

\"ecu_2\"

หลักการทำงานของระบบควบคุมการจุดระเบิด

การควบคุมจ่ายและการฉีดเชื้อเพลิง สามารถกำหนดปริมาณการจ่ายก๊าซตามโปรแกรมาที่ตั้งไว้ล่วงหน้าได้อย่างแม่นยำ เพราะ ชุดควบคุมการฉีดก๊าซ ถูกออกแบบ มาเพื่อใช้กับเครื่องยนต์เชื้อเพลิงคู่ ระหว่างน้ำมันเบนซินและก๊าซธรรมชาติ  โดยอิงสัญญาณการจ่ายน้ำมันมาเป็นตัวควบคุมการจ่ายระบบซึ่งเดิมควบคุมปริมาณการจ่ายน้ำมันสามารถกำหนดปริมาณการจ่ายน้ำมันมาเป็นตัวกำหนดปริมาณการจ่ายก๊าซ

\"ecu_3\"

ปัจจุบันมีการอนุญาตให้ใช้สิทธิใช้ประโยชน์ผลงานวิจัย (Licensing) ดังกล่าวแก่บริษัทภาคเอกชนไป 4 บริษัท เพื่อนำไปผลิตจำหน่าย ได้แก่  บริษัท นินเบลส จำกัด   บริษัท ทีโอ จำกัด   บริษัท ก๊าซเทค เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด และบริษัท ลัคกี้ มอเตอร์ จำกัด

 

วิจัยและพัฒนาโดยหน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ

========================================================