Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,983
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,577
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,988
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,771
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,462
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,551
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,508
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,818
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,344
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,447
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,358
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,510
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,585
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,128
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,517
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,555
17 Industrial Provision co., ltd 39,223
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,373
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,297
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,621
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,439
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,851
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,220
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,957
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,581
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,517
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,946
28 AVERA CO., LTD. 22,586
29 เลิศบุศย์ 21,684
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,379
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,245
32 แมชชีนเทค 19,893
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,869
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,185
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,138
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,798
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,602
38 SAMWHA THAILAND 18,291
39 วอยก้า จำกัด 17,897
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,476
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,325
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,301
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,237
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,207
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,132
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,066
47 Systems integrator 16,710
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,629
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,454
50 Advanced Technology Equipment 16,442
17/01/2553 14:52 น. , อ่าน 8,747 ครั้ง
Bookmark and Share
ควรเลือกใช้ HRC Fuses หรือ MCCB ดี กับวงจรคาปาซิเตอร์
โดย : Admin

  ควรเลือกใช้ HRC Fuses หรือ MCCB ดี กับวงจรคาปาซิเตอร์
      
         
                                ในวงจรย่อยของคาปาซิเตอร์ในระบบไฟฟ้าแรงต่ำ จำเป็นต้องมีอุปกรณ์ป้องกันการลัดวงจรอยู่ด้วยเสมอ
                            ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้ง HRC Fuse และ MCCB แต่มีข้อควรพิจารณาในการเลือกใช้ดังนี้
                     
                           HRC Fuse :
                              ผู้ออกแบบส่วนใหญ่นิยมเลือกใช้ HRC Fuse เพราะมีข้อดีคือทนกระแสลัดวงจรได้สูง ( มากกว่า 100 kA )
                          และมีราคาถูก   โดยทั่วไปแล้วชุดควบคุมคาปาซิเตอร์ติดตั้งภายในตู้ MDB        ซึ่งมีค่ากระแสลัดวงจรสูงมาก
                          MCCB    ที่สามารถทนกระแสลัดวงจรสูงๆ จะมีราคาแพงกว่ามาก


                            
                             MCCB
:
                            ผู้ออกแบบที่เลือกใช้ MCCB จะชอบในความสะดวกในการใช้งานเมื่อเทียบกับ HRC Fuses เพราะเมื่อ
                            เกิดการลัดวงจรขึ้นก็สามารถต่อวงจรใหม่ได้ง่ายๆ โดยไม่ต้องสูญเสีย HRC Fuses หรือเตรียมเก็บ HRC
                            Fuse สำรองให้ยุ่งยาก


           
            ข้อควรระวัง
                               การใช้งาน MCCB สำหรับวงจรย่อยคาปาซิเตอร์ส่วนใหญ่แล้วจะใช้ MCCB ที่ทนค่ากระแสลัดวงจร
                           ได้ไม่สูงพอ สาเหตุมาจากความผิดพลาดในการคำนวณค่ากระแสลัดวงจร   หรือความต้องการประหยัดค่า
                           ใช้จ่ายในการเลือกใช้ MCCB ที่ทนกระแสลัดวงจรได้สูง การใช้ MCCB   ที่ทนกระแสลัดวงจรต่ำไปส่ง
                           กระแสลัดวงจรได้ต่ำไปจะส่งผลให้ MCCB เสียหายได้เมื่อเกิดการลัดวงจรหรือคาปาซิเตอร์หมดอายุการ
                           ใช้งาน ผู้ออกแบบและเลือกอุปกรณ์ควรใช้ MCCB ในวงจรคาปาซิเตอร์

       
         ข้อดีของ MCCB เมื่อเปรียบเทียบกับ Fuse คือ
         1. ง่ายต่อการปลดหรือต่อวงจรย่อยคาปาซิเตอร์เข้าระบบเพื่อการซ่อมบำรุง
         2. กรณีเกิดการทริป MCBB ก็ยังคงใช้งานได้เหมือนเดิมเพียงแค่โยกกระเดื่องเท่านั้น


         ข้อเสียของ MCCB เมื่อเปรียบเทียบ Fuse คือ
          1. ที่ Interrupting Fault Level สูงๆ ราคาของ MCCB จะแพงกว่า Fuse มาก
          2.ในกรณีที่คาปาซิเตอร์หลายๆ Step ต่อกันอยู่ ถ้ามี Step ใด
Step หนึ่งเกิดปํญหาลัดวงจรขึ้น Step อื่นที่ต่ออยู่แล้ว
             จะเป็น Source Feed Fault เข้ามาด้วย อาจทำให้กระแสลัดวงจรสูงเกินกว่า 15 kA ซึ่งเป็นขนาดมาตรฐานของ
             MCCB ทั่วไป การใช้ MCCB ที่มีค่า Fault Level ต่ำไป อาจก่อให้เกิดปัญหาตามมาโดยเกิดการลัดวงจรระหว่าง
             เฟสตรงขั้วของ MCCB ก็ได้ ทำให้มีความเสียหายเพิ่มขึ้นอีก

                 เอกสารอ้างอิง
               วารสาร คุณภาพไฟฟ้า Vol 8/ Oct- Dec ,2001 ; ABB LIMITED


             (ขอขอบคุณ ชาวสมาชิก 9engineer  คุณมาโนชน์ ที่กรุณาส่งข้อมูลมาเพื่อเป็นความรู้เผยแพร่)

========================================================