Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,984
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,581
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,990
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,779
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,466
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,552
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,509
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,818
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,350
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,449
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,359
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,513
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,586
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,131
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,519
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,555
17 Industrial Provision co., ltd 39,225
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,376
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,297
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,622
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,440
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,852
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,220
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,959
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,583
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,517
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,951
28 AVERA CO., LTD. 22,586
29 เลิศบุศย์ 21,685
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,383
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,246
32 แมชชีนเทค 19,893
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,870
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,186
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,140
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,799
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,603
38 SAMWHA THAILAND 18,293
39 วอยก้า จำกัด 17,900
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,478
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,330
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,303
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,241
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,212
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,134
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,068
47 Systems integrator 16,713
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,629
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,455
50 Advanced Technology Equipment 16,443
06/10/2552 10:53 น. , อ่าน 19,973 ครั้ง
Bookmark and Share
ประวัติความเป็นมาของนิวแมติก
โดย : Admin

 โดย:  สิริวัฒน์     ไวยนิตย์

 

คำว่า “PNEUMA” นั้นเป็นคำมาจากภาษากรีซโบราณ มีความหมายว่า ลม หรือ ลมหายใจ  ในทางปรัชญาจะหมายความว่า วิญญาณ  ส่วนคำว่า “PNEUMATICS” นั้นแผลงมาจากคำว่า PNEUMA นั้นเอง (หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของอากาศ  และเกิดลม)
      
สำหรับในปัจจุบันนี้ความหมายของคำว่า
“PNEUMATIC” ที่เราส่วนมากเข้าใจกันก็คือ การนำเอาอากาศมาเป็นวัสดุใช้งานในทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านการขับเคลื่อน หรือควบคุมเครื่องจักร และอุปกรณ์เครื่องช่วยต่าง ๆ ส่วนวิศวกรที่ทำงานด้านนี้ได้ให้ความหมายคำว่า นิวแมติกไว้ว่า หมายถึง ระบบการส่งกำลังจากต้นทางไปยังปลายทางโดยอาศัยลมเป็นตัวกลางในการส่งกำลัง และควบคุมการทำงานด้วยระบบลม

 
 

   ประวัติความเป็นมาของนิวแมติก 

                อากาศที่อัดตัวจนมีแรงดันสูง (Compressed air) เป็นพลังงานรูปหนึ่งที่มนุษย์ได้นำเอามาดัดแปลงใช้งาน โดยนำเอาคุณสมบัติทางฟิสิกซ์ที่เปลี่ยนแปลง เมื่อมีแรงดันเพิ่มขึ้นมาใช้ให้เป็นประโยชน์นำมาใช้กับงานต่างๆ  มากมาย

         ารนำเอาอากาศมาเป็นวัสดุใช้งานนั้น มนุษย์ได้รู้จักทำมาเป็นพันๆ ปีแล้ว แต่ลักษณะการนำไปใช้งานก็แตกต่างกันออกไป ในสมัยโบราณเราเร่งให้ไพติดได้เร็วด้วยลมธรรมชาติ ในขณะที่ไม่มีลมธรรมชาติ เราก็ต้องสร้างลมขึ้นเองโดยใช้การพัด-โบก เมื่อเจริญขึ้นมากๆ ก็มีการคิดค้นปั้มโดยใช้เป็นคันโยก เพื่อลดการทำงานของมนุษย์ การนำเอาแรงลมมาใช้ให้เป็นประโยชน์มีอีกมากมายที่จะยกตัวอย่าง เช่น การใช้แรงลมไปขับพาเรือให้เคลื่อนที่ไป (เรือใบ) หรือ เอาแรงลมมาหมุนกังหัน และต่อเอากำลังที่เพลาของกังหันไปใช้งานในลักษณะต่างๆ กัน เช่น วิดน้ำ, สีข้าง, โม่แป้ง เป็นต้น


เงาะป่าซาไก (sakai)
 กับการใช้ลมดัดแปลงเป็นอาวุธ

         


ทางด้านอาวุธสงคราม ก็ได้มีการดัดแปลงเอาอากาศแรงดัน เพื่อมาทำเป็นอาวุธ เมื่อประมาณ
2000 ปี มาแล้วชาวกรีซได้นำเอามาดัดแปลงเป็นอาวุธ เรียกว่า KTESIBIOS (ไม้ซาง)
           



ถึงแม้ว่าเราจะรู้จักกับ
Pneumatics มาเป็นระยะเวลาอันยาวนานแล้วก็ตาม แต่การวิจัย และค้นคว้ากันอย่างจริงๆ จังๆ เพื่อนำมาใช้ในวงการอุตสาหกรรม เพิ่งจะเริ่มทำการค้นคว้ากันอย่างจริงจัง เมื่อต้นศตวรรษที่แล้วนี่เอง และตั้งแต่ปี ค.. 1950 จึงสามารถที่จะกล่าวได้อย่างมั่นใจว่าได้นำเอาอากาศมาดัดแปลงใช้กับงานด้านอุตสาหกรรม ได้อย่างแท้จริง
             ก่อนที่จะมีการค้นคว้าถึงการนำเอาอากาศแรงดันมาใช้กับงานด้านอุตสาหกรรมก็ได้มีการนำอากาศแรงดัน ไปดัดแปลงใช้กับงานบางอย่าง เช่น งานในเหมือง, งานก่อสร้าง, และในรถไฟ (ใช้อากาศแรงดันกับระบบเบรค) งานที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งของอากาศแรงดันที่เราเห็นกันอยู่เสมอ คือใช้อากาศแรงดันมาเป่าทำความสะอาดในโรงงาน

 

ขอขอบคุณทุกๆที่มาของแหล่งข้อมูล
 

========================================================