Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,015
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,600
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,006
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,812
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,481
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,575
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,530
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,838
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,380
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,467
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,382
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,529
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,620
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,163
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,560
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,575
17 Industrial Provision co., ltd 39,247
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,392
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,313
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,643
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,476
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,874
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,240
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,977
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,604
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,531
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,970
28 AVERA CO., LTD. 22,603
29 เลิศบุศย์ 21,704
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,408
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,268
32 แมชชีนเทค 19,912
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,886
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,202
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,156
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,817
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,618
38 SAMWHA THAILAND 18,316
39 วอยก้า จำกัด 17,923
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,498
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,353
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,320
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,262
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,236
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,152
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,092
47 Systems integrator 16,729
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,652
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,474
50 Advanced Technology Equipment 16,462
10/12/2552 19:39 น. , อ่าน 27,915 ครั้ง
Bookmark and Share
เครื่องยนต์สองจังหวะ (Two Stroke Engine)
โดย : Admin

   

      
        เครื่องยนต์หากแยกประเภทตามกลวัตรการทำงานของเครื่องยนต์ก็จะแยกเป็นเป็นสองประเภทคือ เครื่องยนต์ 2 จังหวะ (2 Stroke engine)  และ เครื่องยนต์ 4 จังหวะ (4 Stroke engine ) แต่ในหัวข้อนี้จะอธิบายการทำงานของเครืองยนต์สองจังหวะดังนี้


เครื่องยนต์สองจังหวะ  (Two Stroke Engine)
        เครื่องยนต์สองจังหวะเป็นเครื่องยนต์ทีมีรูปแบบพื้นฐานที่ง่ายสร้างและการทำงาน มีเพียงสามส่วนหลักทีเคลื่อนไหวนั้นคือ  ลูกสูบ(Piston), แกนเชื่อมต่อ(connecting rod) และเพลาข้อเหวี่ยง (crankshaft) . แต่อย่างไรก็ตามเครื่องยนต์สองจังหวะ ก็เป็นอะไรที่ไม่ง่ายเพื่อเห็นครั้งแรก เนื่องจากวงรอบการทำงานมันเกิดขึ้นพร้อมๆ กันทำให้มันยากที่จะอธิบายว่าช่วงไหนคือการเริ่ม และจุดสุดท้ายของวงรอบเครื่องยนต์
 
        เครื่องยนต์ 2 จังหวะ ถูกออกแบบมาไม่เหมือนกับเครื่องยนต์เบนซิน 4 จังหวะ กล่าวคือ เครื่องยนต์ 4 จังหวะจะใช้วาล์ว ไอดี และวาล์วไอเสีย เป็นกลไก ในการจ่ายไอดี และไอเสียสลับกัน แต่เครื่อง 2 จังหวะ ถูกออกแบบให้มีช่องไอดี และไอเสีย อยู่ที่กระบอกสูบ ซึ่งช่องนี้ จะเปิด หรือปิดได้ อยู่ที่การเคลื่อนที่ของตัวลูกสูบ เท่ากับว่าลูกสูบ ทำหน้าที่เป็นวาล์วไปในตัว



หลักการทำงานของเครื่องยนต์ 2 จังหวะ มีรายละเอียดดังนี้
 
1. จังหวะคาย(transfer/exhaust) กับดูด (intake) 
 
         เป็นจังหวะที่ลูกสูบเคลื่อนที่จากศูนย์ตายล่าง ขึ้นสู่ศูนย์ตายบน ระหว่างการเคลื่อนที่นี้เอง ด้านบนลูกสูบคือการอัดอากาศไอดี ในขณะเดียวกัน ช่องไอเสีย จะถูกปิดด้วยตัวลูกสูบ โดยอัตโนมัติ โดยที่เวลาเดียวกันนี้เอง ความสูงของลูกสูบก็พ้นช่องไอดีออกไป ทำให้อากาศไอดี ใหลเข้าสู่ห้องเพลาข้อเหวี่ยง โดยอัตโนมัติ เช่นกัน


 
2.   จังหวะอัด(compress) กับระเบิด(power stroke)

         เมื่อลูกสูบ เคลื่อนที่ขึ้นไปสู่ศูนย์ตายบน ก็จะเกิดประกายไฟจากหัวเทียนทำให้เกิดระเบิดเพื่อดันลูกสูบลงไปสู่ศูนย์ตายล่าง อีกครั้ง ในระหว่างการเคลื่อนที่ลงครั้งนี้ ความสูงของลูกสูบ ก็จะไปปิดช่องอากาศทางเข้าไอดี และด้านบนของลูกสูบก็จะพ้นช่อง ทางออกของไอเสีย ทำให้อากาศไอเสียใหลผ่านออกไป ในขณะเดียวกันนี้เองที่ด้านบนของลูกสูบก็จะพ้นช่องใหลเข้าของไอดี ที่มา จากห้องเพลาข้อเหวี่ยง เข้าไปแทนที่
      

 

 

ข้อดี
 
เครื่องยนต์สองจังหวะมีการจุดระบิดบ่อยกว่าเครื่องยนต์สี่จังหวะ 2 เท่า ดังนั้นเครื่องยนต์สองจังหวะ จึงมีกำลังมากกว่าเครื่องยนต์สี่จังหวะที่มีขนาดเท่ากันสองเท่า นอกจากนั้นยังมีน้ำหนักเบา สร้างง่าย เนื่องจากมี ช้นส่วนน้อยกว่า เหมาะสำหรับงานที่ต้องการเครื่องยนต์กำลังสูง ขนาดเล็ก น้ำหนักเบา เช่น เลื่อยโซ่(chainsaw)เครื่องตัดหญ้า เครื่องเรือติดท้าย รถลุยหิมะ(snow mobile) เจ็ตสกี รถมอเตอร์ไซด์ เครื่องบินเล็กเครื่องพารามอเตอร์ เป็นต้น
 

 
ข้อเสีย
 
ของเครื่องยนต์สองจังหวะคือ มีประสิทธิภาพต่ำ และ มีมลพิษสูง เนื่องจากมีน้ำมันที่ยังไม่เผาไหม้ปนออกมากับ ไอเสียด้วย บางแบบต้องผสมน้ำมันเครื่องรวมกับไอดี ทำไห้มีความสิ้นเปลืองน้ำมันเครื่องสูง
 
 
 
 


ขอขอบคุณที่มาของทุกแหล่งข้อมูล
อ้างอิงจาก :  ฟิสิกส์ราชมงคล



 

========================================================