Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 175,990
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 173,582
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 172,991
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 172,787
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,467
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,555
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,512
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 167,820
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,357
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,451
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,364
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,515
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 67,595
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,133
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 50,526
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,557
17 Industrial Provision co., ltd 39,227
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,380
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,298
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,626
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,450
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 31,854
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,221
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 30,960
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,585
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,517
27 P.D.S. Automation co.,ltd 22,952
28 AVERA CO., LTD. 22,587
29 เลิศบุศย์ 21,687
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,387
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,247
32 แมชชีนเทค 19,896
33 Electronics Source Co.,Ltd. 19,871
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,187
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,141
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 18,801
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,604
38 SAMWHA THAILAND 18,294
39 วอยก้า จำกัด 17,903
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,481
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,332
42 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,305
43 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,242
44 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,218
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,136
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,070
47 Systems integrator 16,714
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 16,632
49 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,458
50 Advanced Technology Equipment 16,445
07/03/2563 11:02 น. , อ่าน 7,277 ครั้ง
Bookmark and Share
Winding insulation resistance
โดย : Admin

ความความเป็นฉนวนของขดมอเตอร์ลวดมอเตอร์




 

มอเตอร์กรณีที่ซื้อมาแล้วและไม่ได้ใช้งานในทันที ซึ่งหากเก็บเอาไว้นานๆก็อาจะมีปัญหาบางอย่างซึ่งเกิดจากแฟคเตอร์ภายนอกได้เช่นความชื้น( moisture )  สิ่งสกปรก หรืออุณภูมิที่สูงไป   ดังนั้นก่อนที่จะนำมอเตอร์นั้นไปใช้งานจึงมีความจำเป็นที่จะต้องทำการตรวจเช็คค่าความต้านของฉนวนขดลวดก่อน   โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากมอเตอร์อยู่ในสถานที่และสภาพแวดล้อมที่มีความชื้นสูงๆ จะจำเป็นยิ่งอย่างที่จะต้องมีการเช็คเป็นระยะๆ
 

สำหรับในทางปฏิบัติแล้วมันเป็นอะไรที่ยากที่จะบอกว่าค่าความต้านทานของฉนวนขั้นต่ำควรจะเป็นเท่าไหร่ เนื่องจากขึ้นกับปัจจัยต่างๆหลายอย่าง เช่นโครงสร้างและสภาพของมอเตอร์วัสดุที่ใช้   พิกัดแรงดันที่ใช้งาน ขนาด และประเภทของมอเตอร์ เป็นต้น  ซึ่งในความเป็นจริงมันต้องใช้ประสบการณ์หลายปีในการพิจารณาว่ามอเตอร์พร้อมใช้งานหรือไม่

แต่อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปก็จะมีเกณฑ์ในการพิจารณาสภาพของฉนวนดังนี้ 

ค่าความต้านทานของฉนวนขดลวด ระดับของฉนวนของขดลวด Insulation level
2 Megohm หรือน้อยกว่า ต่ำ สภาพของฉนวนไม่ดี  Bad
2-5 Megohm วิกฤต  Critical
510 Megohm ผิดปกติ  Abnormal
10-50 Megohm ดี  Good
50-100 Megohm  ดีมาก  Very Good
100 Megohm หรือมากกว่า ยอดเยี่ยม  Excellent

    (ซึ่งถ้าจะให้ดีควรจะมีค่ามากกว่า 10 เมกะโอห์ม ขึ้นไป)


สำหรับการวัดความต้านทานของฉนวนโดยทั่วไปก็จะใช้ megohmmeter  ซึ่งจะแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงหรือไฟดีซีที่ 500 หรือ 1,000 V ในการทดสอบค่าความเป็นฉนวนของขดลวด


การทดสอบฉนวนของมอเตอร์  ให้ทำการพิจารณาดังนี้

1. ความต้านทานของฉนวน

    ความต้านทานฉนวนขั้นต่ำของขดลวดใหม่ที่ความสะอาดหรือมอเตอร์ที่มีการพันใหม่ เมื่อเที่ยบกับกราวด์ ควรจะมีค่า 10 Megohm หรือมากกว่า

   โดยค่าความต้านทานฉนวนขั้นต่ำ (R )  สามารถคำนวณหาได้โดยใช้แรงดันพิกัดของมอเตอร์คูณด้วยค่าคงที่ 0.5 Megohm / kV

    ตัวอย่างเช่น: หากแรงดันไฟฟ้าพิกัดที่กำหนดคือ 690 V  หรือ 0.69 kV ความต้านทานฉนวนขั้นต่ำคือ: 0.69 kV x 0.5 Megohm / kV = 0.35 Megohm


2. อุณหภูมิช่วงทำการวัดค่า

    การวัดความต้านทานฉนวนขั้นต่ำของขดลวดเมื่อเทียบกับกราวด์ ที่วัดด้วยแรงดัน 500 V DC  ควรวัดที่อุณหภูมิระหว่าง 25 ° C ± 15 ° c
    ส่วนการวัดค่าความต้านทานฉนวน ด้วยแรงดันไฟฟ้า 500 V DC ควรทำการวัดที่อุณหภูมิใช้งาน 80 - 120 ° C  (ขึ้นอยู่กับประเภทของมอเตอร์และประสิทธิภาพ)


3. การตรวจสอบ

    หากความต้านทานของฉนวนของมอเตอร์ใหม่และสะอาดหรือมอเตอร์ที่พันใหม่ ซึ่งหากมีการเก็บไว้นานแล้ววัดค่าได้ค่าน้อยกว่า 10 Mohm นั้น  สาเหตุอาจเป็นได้เป็นได้ว่าอาจเกิดจากความชื้น ดั้งนั้นควรทำการให้แห้งก่อน

    แต่หากเป็นมอเตอร์ใช้มีการใช้งานเป็นเวลานานแล้ว  ซึ่งอาจเป็นไปได้ที่จะทำให้ค่าความต้านทานฉนวนลดลงถึงระดับวิกฤติ   แต่อย่างไรก็ตามตราบใดที่ค่าที่วัดได้ไม่ต่ำกว่าค่าที่คำนวณได้ของความต้านทานของฉนวนขั้นต่ำมอเตอร์ก็สามารถทำงานต่อไปได้

    *** แต่ถ้าค่าลดลงต่ำกว่าขีดจำกัดแล้วละก็  ให้ควรหยุดใช้งานทันทีเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดอันตรายจากแรงดันไฟฟ้ารั่ว


ข้อมูลอ้างอิง: Grudfos - Motor Book

 

 

========================================================