Top 50 Popular Supplier
1 100,000D_อินเวอร์เตอร์ 176,631
2 100,000D_มิเตอร์วัดไฟฟ้า 174,048
3 100,000D_เครื่องมือช่าง 173,363
4 100,000D_อุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ 173,322
5 100,000D_เอซีมอเตอร์ 170,834
6 100,000D_ดีซีมอเตอร์ 169,947
7 100,000D_อุปกรณ์แคมป์ปิ้ง 168,916
8 100,000D_เครื่องดื่มและสมุนไพร 168,181
9 เคอีบี (KEB ) ประเทศไทย 160,968
10 100,000D_เครื่องใช้ไฟฟ้าครัวเรือน 158,747
11 100,000D_ของใช้จำเป็นสำหรับผู้หญิง 158,686
12 100,000D_ขายของเล่นเด็ก 157,889
13 E&L INTERNATIONAL CO., LTD. 68,205
14 T.N. METAL WORKS Co., Ltd. 62,631
15 ฟิลิปส์อิเล็กทรอนิกส์ (ประเทศไทย) จำกัด 51,075
16 บ.ไทนามิคส์ จำกัด 43,962
17 Industrial Provision co., ltd 39,701
18 ลาดกระบัง ทูลส์ แอนด์ ดาย จำกัด 38,709
19 Infinity Engineering System Co.,Ltd 36,617
20 สยาม เอลมาเทค (siam elmatech) 34,956
21 ไทยเทคนิค อีเล็คตริค จำกัด 33,895
22 ฟอร์จูน เมคคานิค แอนด์ ซัพพลาย 32,247
23 เอเชียเทค พาวเวอร์คอนโทรล จำกัด 31,661
24 บริษัท เวิลด์ ไฮดรอลิคส์ จำกัด 31,375
25 โปรไดร์ฟ ซิสเต็ม จำกัด 27,891
26 ซี.เค.แอล.โพลีเทค เอ็นจิเนียริ่ง 26,885
27 P.D.S. Automation co.,ltd 23,258
28 AVERA CO., LTD. 22,951
29 เลิศบุศย์ 21,975
30 ห้างหุ้นส่วนสามัญ เอ-รีไซเคิล กรุ๊ป 20,743
31 เทคนิคอล พรีซิชั่น แมชชีนนิ่ง 20,637
32 Electronics Source Co.,Ltd. 20,245
33 แมชชีนเทค 20,239
34 อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด 19,496
35 มากิโน (ประเทศไทย) 19,460
36 ทรอนิคส์เซิร์ฟ จำกัด 19,208
37 Pro-face South-East Asia Pacific Co., Ltd. 18,884
38 SAMWHA THAILAND 18,656
39 วอยก้า จำกัด 18,311
40 CHEMTEC AUTOMATION CO.,LTD. 17,887
41 IWASHITA INSTRUMENTS (THAILAND) LTD. 17,734
42 เอส.เอส.บี สยาม จำกัด 17,663
43 ดีไซน์ โธร แมนูแฟคเจอริ่ง 17,650
44 I-Mechanics Co.,Ltd. 17,583
45 Intelligent Mechantronics System (Thailand) 17,511
46 ศรีทองเนมเพลท จำกัด 17,507
47 Systems integrator 17,075
48 เอ็นเทค แอสโซซิเอท จำกัด 17,025
49 Advanced Technology Equipment 16,840
50 ดาต้า เอ็นทรี่ กรุ๊ป จำกัด 16,808
17/07/2553 11:34 น. , อ่าน 25,626 ครั้ง
Bookmark and Share
ผลกระทบของปรากฏการณ์โคโรน่า (Corona Effect) และ การตรวจวัด
โดย : Admin

 ที่มาของข้อมูล:  http://thailandthermography.com
ผู้เชี่ยวชาญเรื่องกล้องตรวจวัดความร้อน    

 






 

 Partial Discharge คืออะไร?

Partial Discharge คือ ประจุไฟฟ้าทำลายความเป็นฉนวน เกิดขึ้นทั้งในเนื้อฉนวนและนอกเนื้อฉนวน โดย Partial Discharge ที่เกิดขึ้นในเนื้อฉนวน เป็นผลมาจากการที่ประจุไหลผ่านช่องว่างเล็ก ๆ ในเนื้อฉนวนและสร้างความเสียหาย โดยที่ช่องว่างเหล่านี้จะทนแรงดันไฟฟ้าได้น้อยกว่าฉนวนที่อยู่รอบตัวมัน ความเสียหายจะยืดตัวออกไปจนในที่สุดเมื่อมันยาวพอก็จะเกิดการ Breakdown จาก high Voltage ลงสู่ ground


Corona
นับเป็น Partial Discharge ประเภทหนึ่ง เกิดจากอิเล็กตรอนพลังงานสูง วิ่งหลุดออกจากบริเวณที่มีความเครียดทางไฟฟ้าสูง เช่นขอบแหลมคมบนตัวนำไฟฟ้า หรือแม้แต่ฉนวนไฟฟ้าก็ตาม เมื่อมันซนเข้ากับโมเลกุลก๊าซในอากาศ ก็ทำให้เกิดการแตกตัวและให้พลังงานในการแตกตัวออกมา บางส่วนในรูปของการเรืองแสง บางส่วนเป็นเสียงซ่า และอื่น ๆ โมเลกุลของอากาศที่ถูกชนจนแตกตัวนั้นจะเปลี่ยนจากสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าไปสู่สภาพขั้วและนำไฟฟ้าได้ การทริปของระบบจึงสามารถเกิดขึ้นได้ หากตำแหน่ง Corona มีพื้นที่มากขึ้นจนเกิดลัดวงจรลงกราวด์ นอกจากนี้แล้วการเกิด Corona ยังสร้างสัญญาณความถี่สูงรบกวนระบบควบคุมและอุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์อีกด้วย การเกิด Corona มักมีแน้วโน้มที่แย่ลง ในวันที่มีอากาศชื้น บางครั้ง ทิศทางลมอาจพัดพาความชื้นจากสถานที่ใกล้เคียงเข้ามาสร้างปัญหาได้อีกด้วย




การตรวจสอบโคโรน่า (
Corona Effect) 
          


ตัวอย่าง ความเสียหายของฉนวนเนื่องจาก Corona Effect

การตรวจสอบการเกิด Discharge บนผิวสายไฟฟ้ากำลังแบบเดินลอย และจุดต่อต่าง ๆ ผลของความเครียดสนามไฟฟ้าบนพื้นที่หนึ่ง ๆ เมื่อสูงพอที่ทำให้อากาศรอบพื้นที่นั้นเกิดการแตกตัว (Ionization) จะเกิดปรากฏการณ์ที่เราเรียกว่า Corona ขึ้นมา การขยายตัวของวง corona อาจทำให้เกิดการวาบไฟตามผิว (Flash Over) หรืออาร์กที่ฉนวน หรือเบรกดาวน์ได้ในที่สุด






ฉะนั้น วิธีการตรวจสอบ
Corona Effect สามารถทำได้อยู่ 2
วิธี คือ



1. ใช้กล้องตรวจจับ Corona ซึ่งปรากฏการณ์ Corona Effect ที่เกิดขึ้นจะมีการส่งคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาในย่าน UV ซึ่งเราไม่สามารถมองเห็นปรากฏการณ์ Corona Effect ได้ด้วยตาป่าว จะต้องใช้กล้องพิเศษที่สามารถรับรังสีในย่าน UV ได้เท่านั้น และกล้องความร้อนก็ไม่สามารถที่จะมองเห็นปรากฏการ์ดังกล่าวได้เช่นกัน


         

            ตัวอย่างกล้องตรวจจับโคโรน่า (Corona CAM504)




2. ใช้ Ultrasonic Detection คือ อุปกรณ์ที่ใช้ตรวจการเกิดคลื่น Ultrasonic ในบริเวณที่ตามองไม่เห็นหรือการฉีกขาดของชิลด์และเปลือกสายไฟฟ้ากำลัง ซึ่งอาจมีความชื้นซึมเข้าเนื้อฉนวนหรือจุดต่อต่าง ๆ ได้

ธีการวัดคลื่น Ultrasonic ที่กระจายออกจากจุด Discharge สามารถตรวจอาการบริเวณชั้นนอกของสายใต้ดินได้ดี โดยไม่มีข้อจำกัดเรื่องระบบชิลด์ ดังนั้น จึงนำไปใช้กับทั้ง จุดต่อและตัวสายใต้ดินเอง

 
ปัญหาหลัก คือ สัญญาณรบกวนบริเวณข้างเคียง เช่น หัวเทียนรถ, การกระทบถี่ ๆ ของโลหะ, ช่องที่มีแรงดันอากาศไหลวนอยู่ เป็นต้น นอกจากนี้แล้วสายไฟกำลังที่จมน้ำอยู่จะมีสัญญาณออกมาเหนือผิวน้ำในปริมาณน้อย จึงตรวจสอบได้ยาก


 

========================================================